โซเดียม มี 11 โปรตอน และมี 12 นิวตรอน โซเดียม มีเลขอะตอมและ เลข มวล เท่ากับ เท่าใด ตามลำดับ

จากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี

โซเดียม ลักษณะปรากฏ คุณสมบัติทั่วไป ชื่อ สัญลักษณ์ และเลขอะตอมการออกเสียง อนุกรมเคมีหมู่ คาบและบล็อกมวลอะตอมมาตรฐานการจัดเรียงอิเล็กตรอนประวัติ การค้นพบการแยกครั้งแรก คุณสมบัติกายภาพ สถานะความหนาแน่น (ใกล้ r.t.)ความหนาแน่นของเหลวที่จุดหลอมเหลวจุดหลอมเหลวจุดเดือดจุดวิกฤตความร้อนของการหลอมเหลวความร้อนของการกลายเป็นไอความจุความร้อนโมลาร์ความดันไอคุณสมบัติอะตอม สถานะออกซิเดชันอิเล็กโตรเนกาติวิตีพลังงานไอออไนเซชันรัศมีอะตอมรัศมีโควาเลนต์รัศมีวานเดอร์วาลส์จิปาถะ โครงสร้างผลึกความเป็นแม่เหล็กสภาพนำไฟฟ้าสภาพนำความร้อนการขยายตัวจากความร้อนความเร็วเสียง (thin rod) มอดุลัสของยังโมดูลัสของแรงเฉือนโมดูลัสของแรงบีบอัดความแข็งของโมส์ความแข็งของบริเนลล์เลขทะเบียน CASไอโซโทปเสถียรที่สุด

11Na

Li

Na

K
นีออน ← โซเดียม → แมกนีเซียม
โซเดียมในตารางธาตุ
โลหะอ่อนสีขาวเงิน


เส้นสเปคตรัมของโซเดียม
โซเดียม, Na, 11
soh-dee-əm
โลหะแอลคาไล
1 (โลหะแอลคาไล), 3, s
22.98976928(2)
[Ne] 3s1
2,8,1

ฮัมฟรี เดวี (1807)
ฮัมฟรี เดวี (1807)
ของแข็ง
0.968 g·cm−3
0.927 g·cm−3
370.944 K, 97.794 °C, 208.029 °F
1156.090 K, 882.940 °C, 1621.292 °F
(extrapolated)
2573 K, 35 MPa
2.60 kJ·mol−1
97.42 kJ·mol−1
28.230 J·mol−1·K−1
P (Pa) 1 10 100 1 k 10 k 100 k
ที่ T (K) 554 617 697 802 946 1153
+1, -1
(strongly basic oxide)
0.93 (Pauling scale)
ค่าที่ 1: 495.8 kJ·mol−1
ค่าที่ 2: 4562 kJ·mol−1
ค่าที่ 3: 6910.3 kJ·mol−1
186 pm
166±9 pm
227 pm
รูปลูกบาศก์กลางตัว

พาราแมกเนติก[1]
(20 °C) 47.7 nΩ·m
142 W·m−1·K−1
(25 °C) 71 µm·m−1·K−1
(ที่ 20 °C) 3200 m·s−1
10 GPa
3.3 GPa
6.3 GPa
0.5
0.69 MPa
7440-23-5
บทความหลัก: ไอโซโทปของโซเดียม
ไอโซโทปNAครึ่งชีวิตDMDE (MeV)DP
22Na ติดตาม 2.602 y β+→γ 0.5454 22Ne*
1.27453(2)[2] 22Ne
ε→γ - 22Ne*
1.27453(2) 22Ne
β+ 1.8200 22Ne
23Na 100% Na เสถียร โดยมี 12 นิวตรอน
* = สถานะกระตุ้น

อ้างอิง

โซเดียม (อังกฤษ: Sodium) เป็นธาตุในตารางธาตุซึ่งมีสัญลักษณ์ Na (จากคำว่า Natrium ในภาษาละติน[3]) และหมายเลขอะตอม 11 โซเดียมเป็นโลหะอ่อน มีลักษณะเป็นไข มีสีเงิน และอยู่ในกลุ่มโลหะแอลคาไล โซเดียมมีมากในสารประกอบทางธรรมชาติ (โดยเฉพาะแฮไลต์)

โซเดียมทำปฏิกิริยาได้ว่องไวมาก ให้เปลวไฟสีเหลือง ออกซิไดส์ในอากาศทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับโซเดียมทำให้เกิดเปลวไฟและมันยังทำปฏิกิริยาอย่างรุนแรงกับน้ำจนเกิดการระเบิดได้ จึงจำเป็นต้องเก็บอยู่ในน้ำมันเพื่อให้ไม่เกิดอุบัติเหต

การค้นพบ[แก้]

Sir Humphry Davy เป็นคนแรกที่สกัดธาตุโพแทสเซียมก่อนตามด้วยธาตุโซเดียมใน ปี ค.ศ. 1807 ขณะที่เขาศึกษาปฏิกิริยาการแยกสลายด้วยไฟฟ้าของโพแทสเซียมไฮดรอกไซด์ และโซเดียมไฮดรอกไซด์ตามลำดับ ในปีถัดมา (ปี ค.ศ. 1808) Gay-Lussac และ Thernard สามารถเตรียมโลหะโซเดียมได้โดยนำ โซเดียมไฮดรอกไซด์มารีดิวซ์ด้วยเหล็ก ณ อุณหภูมิสูง ในปี ค.ศ. 1921 บริษัท du Pont ผลิตโซเดียมได้ในราคาถูกมาก โดยใช้ Downs cell สัญลักษณ์ของธาตุนี้มาจากคำละติน Natrium

การใช้ประโยชน์[แก้]

  • ใช้ประโยชน์ในด้านสมบัติทางกายภาพ

ของโซเดียมเป็น โลหะตัวนำความร้อนและไฟฟ้าที่ดี โลหะบางชนิดนำความร้อนได้ดีกว่า Na ได้แก่ เงิน ทอง อะลูมินัม และทองคำ เป็นตัวกลางแลกเปลี่ยนความร้อน (heat exchange medium) เป็นตัวหล่อเย็นในปฏิกรณ์นิวเคลียร[4]

  • ใช้ประโยชน์ในด้านสมบัติทางเคมี

ใช้เตรียมสารเคมีของโซเดียม เช่น เตรียมโซเดียมเปอร์ออกไซด์ (Na2O2) เป็นตัวฟอกสี โซเดียมไฮไดรด์ (NaH) เตรียมเตตระเมทิลเลด [(CH3)4Pb], เตตระเอทิลเลด [(C2H5)4Pb] เพื่อใช้เติมใส่แก๊สโซลีนเพื่อเพิ่มเลขออกเทนของน้ำมันแก๊สโซลีน ใช้เป็นตัวรีดิวซ์และเป็นตัวเร่งในปฏิกิริยา ใช้ในเตรียมสารอินทรีย์ของโซเดียม[5]

ความเป็นพิษ[แก้]

  • โซเดียมไอออน (Na+) เป็นธาตุ จำเป็นต่อร่างกายธาตุทีไม่เป็นพิษ
  • โซเดียมทีอยู่ในรูปของธาตุอิสระ มีพิษอย่างแรง กัดเนื้อเยื่อทำให้เกิดอาการคัน เป็นผื่นแดง
  • โซเดียมทำปฏิกิริยาน้ำและออกซิเจนในอากาศอย่างรุนแรง ติดไฟง่ายและให้สารละลาย
  • โลหะโซเดียมต้องเก็บรักษาในตัวกลางเฉื่อย เช่น ในน้ำมันเคโซซิน การใช้โลหะต้องใช้ความระมัดระวังสูง
  • โลหะโซเดียมทำปฏิกิริยาอย่างรวดเร็ว กับน้ำให้สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH) และแก๊สไฮโดรเจน สารละลายโซเดียมไฮดรอกไซด์ (NaOH)

สารประกอบโซเดียม[แก้]

  • โซเดียมคลอไรด์ - NaCl ใช้ในการปรุงรสอาหาร และใช้ในอุตสาหกรรม
  • โซเดียมไฮดรอกไซด์ - NaOH ใช้ในอุตสาหกรรม
  • โซเดียมเอไซด์ - ใช้บรรจุในถุงลมนิรภัย
  • โซเดียมสเตียเรต - สบู่
  • โซเดียมเตตระโบเรต เดคะไฮเดรต - ใช้ในการทำเครื่องทอง
  • โซเดียมไบคาร์บอเนต - NaHCO3 เบกิ้งโซดา หรือ ผงฟู
  • โซเดียมคาร์บอเนต - Na2CO3 โซดาซักผ้า
  • โซเดียมโบรไมด์ - NaBr
  • โซเดียมไอโอไดต์ - NaI
  • โซเดียมซัลเฟต - Na2SO4
  • โซเดียมฟลูออไรด์ - NaF
  • โซเดียมออกไซด์ - Na2O
  • โซเดียมซัลไฟด์ - Na2S
  • โซเดียมซีลีไนด์ - Na2Se
  • โซเดียมเทลลูไรด์ - Na2Te
  • โซเดียมไฮไดรต์ - Na2O
  • โซเดียมโบโรไฮไดรต์ - NaBH4
  • โซเดียมไซยาไนด์ - NaCN
  • โซเดียมบิสเมต - NaBiO3
  • โซเดียมซูเปอร์ออกไซด์ - NaO2
  • โซเดียมซีลีเนต - Na2SeO4
  • โซเดียมไนเตรต - NaNO3
  • โซเดียมฟอสเฟต - NaPO3
  • โซเดียมอาร์ซีเนต - NaAsO3
  • โซเดียมคลอเรต - NaClO3
  • โซเดียมฟลูออเรต - NaFO3
  • โซเดียมโบรเมต - NaBrO3
  • โซเดียมไอโอเดต - NaIO3
  • โซเดียมไฮโพคลอไรด์ - NaOCl
  • โซเดียมไฮโพฟลูออไรด์ - NaOF
  • โซเดียมไฮโพโบรไมด์ - NaOBr
  • โซเดียมไฮโพไอโอไดต์ - NaOI
  • โซเดียมเพอร์คลอเรต - NaClO4
  • โซเดียมแอนติโมเนต - NaSbO3
  • โซเดียมเทลลูเรต - Na2TeO4
  • โซเดียมพอโลเนต - Na2PoO4
  • โซเดียมพอโลไนต์ - Na2PoO3
  • โซเดียมเทลลูไรต์ - Na2TeO3
  • โซเดียมซีลีไนต์ - Na2SeO3
  • โซเดียมซัลไฟต์ - Na2SO3
  • โซเดียมอาร์เซไนต์ - NaAsO2
  • โซเดียมแอนติโมไนต์ - NaSbO2
  • โซเดียมแอนติโมไนด์ - Na3Sb
  • โซเดียมไนไตรต์ - NaNO2
  • โซเดียมฟอสไฟต์ - NaPO2

อ้างอิง[แก้]

  1. Magnetic susceptibility of the elements and inorganic compounds, in Lide, D. R., บ.ก. (2005). CRC Handbook of Chemistry and Physics (86th ed.). Boca Raton (FL): CRC Press. ISBN 0-8493-0486-5.
  2. Endt, P. M. (1990). "Energy levels of A = 21–44 nuclei (VII)". Nuclear Physics A. 521: 1–400. Bibcode:1990NuPhA.521....1E. doi:10.1016/0375-9474(90)90598-G.
  3. Sodium: the essentials
  4. //chemical1a.blogspot.com/2009/06/blog-post_3634.html
  5. //chemical1a.blogspot.com/2009/06/blog-post_3634.html

 ตารางธาตุ

ขนาดใหญ่ 

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18
1 H   He
2 Li Be   B C N O F Ne
3 Na Mg   Al Si P S Cl Ar
4 K Ca   Sc Ti V Cr Mn Fe Co Ni Cu Zn Ga Ge As Se Br Kr
5 Rb Sr   Y Zr Nb Mo Tc Ru Rh Pd Ag Cd In Sn Sb Te I Xe
6 Cs Ba La Ce Pr Nd Pm Sm Eu Gd Tb Dy Ho Er Tm Yb Lu Hf Ta W Re Os Ir Pt Au Hg Tl Pb Bi Po At Rn
7 Fr Ra Ac Th Pa U Np Pu Am Cm Bk Cf Es Fm Md No Lr Rf Db Sg Bh Hs Mt Ds Rg Cn Nh Fl Mc Lv Ts Og
โลหะแอลคาไล โลหะแอลคาไลน์เอิร์ท แลนทาไนด์ แอกทิไนด์ โลหะทรานซิชัน โลหะหลังทรานซิชัน ธาตุกึ่งโลหะ อโลหะหลายวาเลนซ์ อโลหะวาเลนซ์เดียว แก๊สมีตระกูล ไม่มีกลุ่มตามสมบัติทางเคมี

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก