วิจัยในชั้นเรียน ประถม ศึกษา

บทคัดย่อ
ในการวจิ ยั ครงั้ นี้ มจี ุดมงุ่ หมายเพอื่ การพัฒนาทกั ษะในด้านการอา่ นระดับช้ันประถมศึกษาปที ่ี 2 ใน
ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2564 จากจานวนนกั เรยี นท้ังหมด 7 คน ดว้ ยวิธีการประเมนิ ทเ่ี น้นผเู้ รียนเป็น
สาคญั ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการวจิ ยั ท้ังสิน้ โดยเรมิ่ ทาการวิจยั ตงั้ แต่เดือนมิถุนายน - เดือนตลุ าคม
ผลการวิจัย พบว่านกั เรยี นจานวนหน่ึงมีการพฒั นาทกั ษะในดา้ นการแก้โจทยป์ ญั หา
การบวกและการลบดีขนึ้ กว่าเดมิ ด้วยวิธกี ารให้แรงเสริมโดยการชมเชยและใหร้ ะยะเวลาในการฝกึ ทักษะการ
แก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบมากพอสมควร ดงั น้ัน นกั เรยี นจึงเกดิ ทกั ษะในด้านการแก้โจทย์ปญั หา
การบวกและการลบได้อยา่ งถูกต้อง โดยนามาซง่ึ การพัฒนาทักษะการแก้โจทยป์ ัญหาการบวกและการลบได้
อยา่ งคล่องแคลว่ และถูกต้องเขา้ ใจมากยิง่ ข้นึ

คานา
งานวจิ ัยเรือ่ งการพฒั นาทักษะการแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวกและการลบ ระดบั ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2
ในรายวชิ าคณติ ศาสตร์ ไดจ้ ัดทาขึ้นเพื่อประเมินการพัฒนาทักษะการแกโ้ จทย์ปัญหาการบวกและการลบ
ใหก้ บั นักเรยี น ผวู้ จิ ยั หวงั เป็นอย่างยง่ิ ว่า การวจิ ยั เร่ืองน้ี จะเปน็ ประโยชน์ตอ่ ผู้ท่ีศกึ ษา เพือ่ เปน็ แนวทางใน
การพัฒนาทางดา้ นการเรียน การสอนให้มปี ระสทิ ธิภาพมากยิ่งข้ึน

ผู้วิจยั
นางสาวรตั ติยากร พลยาง

สารบัญ ค

เรือ่ ง หนา้
บทคดั ยอ่ ก
คานา ข
สารบญั ค
งานวจิ ยั ในช้ันเรียน 1
ช่อื เรอ่ื ง 1
ความสาคัญและทม่ี า 1
จดุ ประสงคก์ ารวิจัย 2
ตวั แปรทศี่ กึ ษา 2
เนอื้ หาที่ใช้ในการทดลอง 2
ระยะเวลาทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั 2
นยิ ามศพั ท์ 3
สมมตฐิ านการวิจยั 3
ขอบเขตของการวจิ ยั 4
ขน้ั ตอนการดาเนนิ การทดลอง 4
การวเิ คราะห์ข้อมูล 5
สถิตทิ ่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ขอ้ มูล 5
ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล 6
สรุปผลการวิจยั 7
อภิปรายผลการศึกษา 7
ขอ้ เสนอแนะ 8
ภาคผนวก 9

1

งานวิจัยในชนั้ เรยี น

ชอื่ เรื่อง การบวกและการลบ โดยการใช้ชุดแบบ ฝกึ เสรมิ ทักษะการแก้โจทยป์ ญั หาการบวกและการลบ

ระดบั ช้นั ประถมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนบา้ นหนองเรือ ปีการศึกษา 2564

ความสาคัญและที่มา

ชวี ิตคนเราไมว่ า่ ยคุ สมัยใดล้วนแลว้ จะตอ้ งพบอุปสรรคและปัญหาตา่ ง ๆ ยิ่งปจั จุบนั มีความกา้ วหน้า
ทางเทคโนโลยีสารสนเทศทาใหเ้ กดิ การเปล่ียนแปลงท้งั ทางดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และสิง่ แวดลอ้ ม ท่ามกลาง
การเปลีย่ นแปลงอย่างรวดเรว็ การดารงชวี ิตในสังคมจึงมีความซับซ้อนและเกดิ ปัญหาข้ึนมากมาย ทกั ษะการ
แกป้ ัญหาจึงเป็นส่งิ ทท่ี ุกคนจะตอ้ งมี การศึกษาซ่ึงเปน็ รากฐานสาคัญทจี่ ะชว่ ยพัฒนาประเทศและแกป้ ญั หา
สงั คม เพราะการศกึ ษาเป็นกระบวนการท่ีช่วยพฒั นาคน ให้มคี ุณภาพและสามารถปรบั ตวั ให้เทา่ ทันกับการ
เปลี่ยนแปลงทีเ่ กิดขนึ้ ดงั น้นั การศกึ ษาจึงเปน็ กระบวนการที่สาคัญย่งิ ในการพัฒนาคนทงั้ ทางดา้ นร่างกาย จิตใจ
สติปัญญา คณุ ธรรมจรยิ ธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชวี ิต สามารถอยูร่ วมกบั ผอู้ ่ืนไดอ้ ยา่ งมีความสขุ ซึ่ง
สอดคล้องกับหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พื้นฐานพทุ ธศักราช 2544 มีแนวคดิ ท่เี ปน็ ประเด็นหลักว่า คณติ ศาสตรเ์ ป็น
วิชาทม่ี ีบทบาทท่สี าคญั ยิง่ ต่อการพฒั นาความคดิ ของมนุษย์ ช่วยพฒั นาคุณภาพชวี ติ ทาให้เปน็ มนุษย์ท่ีสมบรู ณ์
คดิ เป็น ทาเปน็ และแก้ปัญหาเป็น (กระทรวงศึกษาธิการ.2544)

จากทก่ี ล่าวมาแลว้ ขา้ งตน้ จะเหน็ ได้วา่ คณิตศาสตรม์ บี ทบาทสาคัญยงิ่ ต่อการพัฒนาความคิดของมนษุ ย์
ทาให้มนุษย์มคี วามคดิ สร้างสรรค์ คดิ อย่างมีเหตุผล เป็นระบบ มีแบบแผน สามารถวเิ คราะห์ปัญหาได้อย่างถี่
ถว้ น รอบคอบ ทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสนิ ใจ และแกป้ ัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและเป็น
เครอื่ งมอื ในการศึกษาวทิ ยาศาสตร์อ่ืนๆ ที่เกย่ี วขอ้ งคณติ ศาสตร์จงึ มปี ระโยชนต์ อ่ การดารงชีวติ และช่วยพฒั นา
คุณภาพชีวิตให้ดีขึน้ และสามารถอยู่รว่ มกับผอู้ น่ื ไดอ้ ย่างมคี วามสุข (สถาบันสง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตรแ์ ละ
เทคโนโลย.ี 2544)

เมือ่ พดู ถึงวิชาคณติ ศาสตร์ ในเรื่องของโจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์ แลว้ คณุ พอ่ คุณแม่ ผปู้ กครอง
ตลอดจนครูจานวนไม่นอ้ ยทห่ี ลบั ตานึกถึงตัวเลขที่เรยี งรายอยู่ในหนงั สือเรยี น ในสมุดแบบฝกึ หัดและโจทย์
ปญั หาตา่ ง ๆ ทซี่ ับซ้อนคิดไม่ออก ใจจดใจจอ่ ท่ีจะหาคาตอบให้ได้ถูกต้อง และคดิ หาวิธจี ะแก้ปัญหาเหลา่ นนั้
การคิดคานวณและการแกโ้ จทยป์ ัญหาเหล่าน้ันอย่างมงุ่ เอาจรงิ เอาจงั กับคาตอบมากนัก แต่ควรเนน้ ถงึ ทักษะ
กระบวนการคดิ ของนักเรยี นแต่ละคน ซึง่ เป็นส่งิ สาคญั ไม่แพ้คาตอบของปัญหาตา่ งๆ นักเรียนท่มี ีความสามารถ
ในการคดิ และเกิดทกั ษะกระบวนการคิดมากนอ้ ยเพยี งใดน้ัน ขึน้ อยกู่ บั ความรพู้ ื้นฐานในสง่ิ ทจี่ ะคิดนัน้ มอี ยู่ใน
ตัวของนกั เรียนเพยี งพอหรือไม่ หากนักเรียนมีความรู้พืน้ ฐานในส่ิงน้ันเพียงพอแล้วเขาสามารถคิดและคิดได้
หรือคิดเป็น และพบกระบวนการคดิ จนทาให้เกิดทกั ษะกระบวนการคิดจนสามารถนาไปใช้แกป้ ญั หาของโจทย์
ต่าง ๆ ไดเ้ สมอ (สวุ ร กาญจนมยรู ,หนา้ 2)

อกี ปจั จัยหนึ่งท่ีทาให้นักเรียนแก้โจทยป์ ัญหาไม่ได้ คอื คณุ ภาพการสอนของครู ครขู าดเทคนิคการสอน
ครูขาดการฝึกทักษะในการแก้ปญั หาให้กับผเู้ รียน ดงั นั้นแนวทางในการพฒั นาการ

2

แกป้ ญั หา คือ ครูต้องมบี ทบาท ในการสอนวิธกี ารแกป้ ัญหาโดยครตู อ้ งออกแบบกิจกรรมเพ่ือการ
แก้ปัญหา ครูต้องสอนปัญหาสาหรบั การแก้ปญั หาโดยตรง ครูต้องกระต้นุ ใหผ้ ู้เรยี นเกดิ การเรียนรู้ท่ีจะแกป้ ญั หา
ดว้ ยตัวเอง มกี ระบวนการและการเรียนรู้ที่หลากหลาย ผูส้ อนต้องคานงึ ถงึ พัฒนาการทางด้านร่างกาย และ
สติปัญญา วิธีการเรยี นรู้ ความสนใจ และความสามารถของผู้เรียน (หลกั สูตรการศึกษาขั้นพน้ื ฐานพทุ ธศักราช
2544: 21) จากสาเหตุดงั กล่าวผวู้ ิจัยมคี วามคดิ เห็นวา่ การที่พฒั นาความสามารถในการแกโ้ จทย์ปัญหาของ
นกั เรียนในระดับตา่ งๆ ของไทยใหบ้ รรลวุ ัตถุประสงค์จะตอ้ งแกป้ ญั หาที่ตัวนกั เรยี นและครู โดยนกั เรยี นจะตอ้ ง
สนใจในการแสวงหาความรู้และใช้ความคิดในการวเิ คราะห์โจทยป์ ญั หาคานึงถึงความสมเหตสุ มผลของคาตอบ
รวมทั้งการคิดวเิ คราะห์อย่างเป็นระบบ และครูจะต้องจัดกิจกรรมการเรียนการสอนท่ีกระตุ้นใหน้ กั เรียนเกดิ
ความสนใจและชอบที่จะเรียนรู้ ผวู้ ิจัยจงึ สนใจท่จี ะวจิ ัยเร่อื งการพฒั นาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา
คณติ ศาสตร์เรื่องการบวกและการลบ โดยการใช้ชดุ แบบฝึกเสริมทักษะการแก้โจทยป์ ัญหาการบวกและการลบ
ของนักเรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 3/3 ปกี ารศึกษา 2561 โรงเรยี นพญาไท เพื่อมุ่งเน้นให้นกั เรยี นลงมือปฏบิ ัติ
เพอื่ กระต้นุ ใหผ้ ู้เรยี นได้ใชเ้ ป็นสอ่ื การเรยี นร้ใู นการพฒั นาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหา ถ้าแบบฝึกทักษะ
ที่ผวู้ ิจยั สรา้ งขึ้นมปี ระสทิ ธภิ าพจะเป็นทางเลอื กหน่ึงในการสอนเพื่อพัฒนาความสามารถในการแกป้ ญั หาทาง
คณติ ศาสตร์อนั เปน็ ประโยชนใ์ นการพฒั นาและปรับปรงุ การเรียนการสอนวิชาคณติ ศาสตร์ตอ่ ไป
จดุ ประสงคก์ ารวิจัย

1. เพ่อื ใหน้ ักเรยี นเกดิ ทักษะในการแกโ้ จทย์ปัญหาคณติ ศาสตร์เรื่องการบวกและการลบ
2. เพอื่ พฒั นาชดุ แบบเสรมิ ฝึกทักษะการแก้โจทยป์ ญั หาเรื่องการบวกและการลบประโยชน์ของการ
วจิ ัย
3. นักเรยี นสามารถพัฒนาทักษะการแก้โจทยป์ ัญหาโดยการใช้ชุดแบบฝกึ ทักษะการแก้โจทย์ปญั หา
การบวกและการลบ ได้
4. สามารถนาแนวคิด หรอื แนวทางการจดั การเรียนรนู้ ไ้ี ปปรับใชใ้ นการพัฒนาการเรยี นรทู้ ่ีใช้แบบฝึก
เสรมิ ทักษะการแก้โจทย์ปญั หาทางคณิตศาสตร์ในระดับชั้นอนื่ ๆ ได้
ตวั แปรท่ศี กึ ษา
ตวั แปรต้น ได้แก่ ชุดแบบฝึกเสริมทักษะการแก้โจทยป์ ญั หาเรื่องการบวกและการลบ
ตัวแปรตาม ไดแ้ ก่ การพฒั นาทักษะการแกโ้ จทยป์ ัญหา
เน้ือหาท่ีใช้ในการทดลอง
เนอื้ หาทีใ่ ช้ในการทดลองคร้ังนี้ คอื เนอื้ หาสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ เรื่องการแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวกและ
การลบ ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 2
ระยะเวลาท่ีใช้ในการวจิ ัย
เวลาทใ่ี ชใ้ นการวิจยั ในครง้ั น้ี ทาการทดลองภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2564 ใชเ้ วลา 2 สัปดาห์
วันละ 1 ช่วั โมง มกี ารทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี นอย่างละ 1 ช่ัวโมงรวมเปน็ 12 ชั่วโมง

นิยามศพั ท์

3

1. แบบฝกึ เสริมทักษะ หมายถงึ แบบฝึกทช่ี ว่ ยให้การสอนของครู และการเรยี นของนักเรียนประสบ
ผลสาเร็จเมื่อผเู้ รียนได้มีโอกาสฝกึ หดั จนเกดิ ความเข้าใจ (อ้อมน้อม เจริญธรรม .2533 : 45 )
สรปุ ไดว้ า่ แบบฝึกเปน็ สือ่ ประกอบการจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน ทีช่ ่วยใหน้ กั เรียนได้ฝกึ ทักษะเพ่มิ จนเกดิ
ความชานาญและส่งผลให้นักเรยี นประสบความสาเรจ็ ในการเรยี น

2. การแก้โจทยป์ ญั หาตามแนวคิดของโพลยา หมายถึง การหาคาตอบของโจทยป์ ัญหาโดยใช้ขนั้ ตอน
ตามทโี่ พลยากาหนดมี 4 ขนั้ ดงั นี้

2.1 ขน้ั ทาความเขา้ ใจปญั หา
2.2 ขน้ั วางแผนแก้ปญั หา
2.3 ขัน้ ดาเนนิ การตามแผน
2.4 ขัน้ ตรวจสอบ

สมมติฐานการวิจัย

หลังจากใช้แบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะการแกโ้ จทย์ปญั หาการบวกและการลบแลว้ นักเรียนคะแนนสอบหลัง

เรียนสงู กวา่ ก่อนเรียน

วัน เดือน ปี กจิ กรรม หมายเหตุ

4 มถิ ุนายน 2564 - ศึกษาสภาพปญั หาและวเิ คราะหห์ าแนวทาง ผู้วจิ ัยบันทกึ คะแนน
5 มถิ นุ ายน 2564 แก้ปัญหา ผวู้ จิ ัยบันทึกคะแนน
- เขยี นเค้าโครงงานวิจยั ในชนั้ เรยี น
8 มิถุนายน 2564 - ศกึ ษาหลักสูตรเกยี่ วกับวิชาคณติ ศาสตร์ ผู้วิจยั บนั ทกึ คะแนน
- วิเคราะหผ์ ้เู รียนและวเิ คราะหเ์ นือ้ หา
- ทดสอบวัดความสามารถก่อนเรียน

11 มิถุนายน 2564 - นักเรยี นทาแบบฝึกทกั ษะคณติ ศาสตร์ ชุดที่ 1 ผูว้ ิจยั บันทึกคะแนน

12 มถิ ุนายน 2564 - นักเรยี นทาแบบฝกึ ทักษะคณติ ศาสตร์ ชดุ ที่ 2 ผู้วิจยั บนั ทึกคะแนน

13 มิถนุ ายน 2564 - นกั เรยี นทาแบบฝกึ ทกั ษะคณิตศาสตร์ ชดุ ที่ 3 ผ้วู จิ ยั บนั ทึกคะแนน

14 มิถนุ ายน 2564 - นกั เรียนทาแบบฝึกทักษะคณติ ศาสตร์ ชุดที่ 4 ผวู้ ิจยั บนั ทกึ คะแนน

15 มถิ ุนายน 2564 - นกั เรยี นทาแบบฝกึ ทกั ษะคณิตศาสตร์ ชุดท่ี 5 ผู้วจิ ยั บันทึกคะแนน

4

วัน เดือน ปี กิจกรรม หมายเหตุ

18 มิถุนายน 2564 - นกั เรยี นทาแบบฝกึ ทกั ษะคณติ ศาสตร์ ชุดที่ 6 ผู้วิจยั บันทึกคะแนน

19 มถิ นุ ายน 2564 - นักเรยี นทาแบบฝึกทกั ษะคณติ ศาสตร์ ชุดท่ี 7 ผู้วจิ ัยบันทกึ คะแนน

20 มถิ ุนายน 2564 - นกั เรียนทาแบบฝกึ ทกั ษะคณิตศาสตร์ ชุดที่ 8 ผู้วจิ ัยบันทึกคะแนน

21 มถิ นุ ายน 2564 - นักเรยี นทาแบบฝึกทกั ษะคณติ ศาสตร์ ชุดที่ 9 ผู้วิจยั บนั ทึกคะแนน

22 มถิ นุ ายน 2564 - นกั เรียนทาแบบฝึกทักษะคณติ ศาสตร์ ชดุ ท่ี 10 ผวู้ จิ ยั บนั ทึกคะแนน

25 มิถนุ ายน 2564 - ทดสอบวัดความสามารถหลงั เรียน ผู้วิจัยบนั ทกึ คะแนน

16 – 28 มิถนุ ายน 2564 - เกบ็ รวบรวมข้อมลู และวเิ คราะห์ข้อมูล ผวู้ ิจัยบันทึกคะแนน

29 มิถนุ ายน 2564 - สรปุ และอภปิ รายผล ผวู้ จิ ัยบันทึกคะแนน

- จดั ทารูปเลม่

ขอบเขตของการวิจยั

ประชากรทีใ่ ชใ้ นการวจิ ยั

ประชากรท่ใี ชใ้ นการวิจยั ครงั้ นี้ เปน็ นกั เรียนชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 โรงเรียนบา้ นหนองเรอื จังหวัดร้อยเอด็

กลมุ่ ตัวอยา่ งได้แก่ นักเรียนช้ันประถมศึกษาปที ี่ 2 จานวน 1 หอ้ งเรยี น มีนกั เรียนทง้ั หมดจานวน 7 คน

ขั้นตอนการดาเนินการทดลอง

1. ผู้วจิ ยั นาแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาก่อนเรียน เร่ืองการแก้โจทย์ปัญหา

เร่ืองการบวกและการลบทผ่ี วู้ จิ ยั สรา้ งขนึ้ ทดสอบนักเรียน

2. ผวู้ ิจัยตรวจแบบทดสอบวัดความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หากอ่ นเรียน เร่ืองการแก้โจทยป์ ญั หา

เรื่องการบวกและการลบ และเกบ็ คะแนนของแต่ละคนไว้

3. ผู้วิจยั ดาเนินการสอนนกั เรียนโดยใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทักษะการแกโ้ จทยป์ ญั หาเร่อื งการบวกและการ

ลบ โดยทาทุกวันวันละ 1 ชุด เป็นเวลา 2 สปั ดาห์ รวม 10 ชุดโดยวิธีการดาเนินการสอนมี 4 ข้นั ตอน ดังนี้

3.1 การทาความเขา้ ใจโจทย์ปัญหา

3.2 วางแผนแกป้ ัญหา

3.3 ลงมือแก้ปญั หา

3.4 ตรวจสอบคาตอบ

5

4. หลงั จากนักเรียนทากจิ กรรมการเรยี นการสอนทผี่ วู้ จิ ยั สรา้ งข้ึนแล้วผวู้ ิจัยนาแบบทดสอบวัด
ความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หาหลังเรยี น ที่ผ้วู ิจัยสร้างข้นึ ไปทดสอบกับนักเรียน

5. ผวู้ จิ ัยตรวจแบบทดสอบวัดความสามารถในการแกโ้ จทย์ปัญหาหลังเรยี นและรวบรวมคะแนน
6. ผวู้ ิจัยนาแบบวัดเจตคติทม่ี ีต่อการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอนโดยใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทักษะการ
แก้โจทยป์ ญั หาไปทดสอบกับนกั เรยี น
7. นาคะแนนที่ไดจ้ ากแบบทดสอบก่อนเรียนและหลงั เรยี นโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการแกโ้ จทย์
ปญั หา มาเปรยี บเทยี บและวิเคราะห์โดยวิธที างสถติ เิ พื่อทดสอบสมมตฐิ าน
8. นาคะแนนท่ีได้จากแบบวดั เจตคตทิ ี่มตี ่อการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนโดยใชแ้ บบฝึกเสรมิ
ทักษะการแก้โจทยป์ ัญหา มาวเิ คราะหโ์ ดยใชว้ ธิ ีทางสถติ ิ
การวิเคราะห์ขอ้ มูล
1. เปรียบเทียบผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นของนักเรยี นก่อนและหลงั กิจกรรมการเรียนการ
สอนทเี่ น้นกระบวนการแก้ปญั หาการเพื่อพฒั นาความสามารถในการแก้โจทยป์ ญั หาคณติ ศาสตร์
เรื่องการบวกและการลบ โดยการใช้ชดุ แบบฝกึ ทักษะการแก้โจทยป์ ัญหา
สถิติทใี่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมูล
1. ค่าสถิตพิ นื้ ฐาน ได้แก่ ค่าเฉลย่ี ( x ) สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( ◌ )
1.1 ค่าเฉล่ีย ( Mean ) ใช้สตู ร
1.2

x คอื ค่าเฉล่ียของกลุ่มประชากร
∑ปคือ คะแนนของกลมุ่ ประชากร
N คือ จานวนขอ้ มลู ในกลุ่มประชากร

6

1.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation )

Ơ คอื ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐานของกลุ่มประชากร
x คอื ค่าของข้อมูลแตล่ ะตวั
N คือ จานวนข้อมูลทั้งหมดของกลมุ่ ประชากร
ผลการวเิ คราะหข์ ้อมูล

จากการศึกษาวิจัยในช้ันเรยี นครัง้ นี้ มวี ัตถปุ ระสงค์เพ่ือให้นักเรียนเกดิ ทักษะในการแก้โจทย์ปญั หา
คณิตศาสตร์เร่ืองการบวกและการลบ และเพอ่ื พัฒนาชุดแบบเสริมฝกึ ทกั ษะการแกโ้ จทย์ปญั หาเรื่องการบวก
และการลบ โดยได้ศึกษาจากกล่มุ ตัวอยา่ งซึ่งเป็นนกั เรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 2 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา
2564โรงเรยี นบ้านหนองเรือ จานวน 7 คน ผู้วิจยั ได้ทาการทดลองโดยให้นักเรียนทาแบบฝกึ ทกั ษะเกี่ยวกับการ
บวกเลขหลกั เดยี ว จานวน 10 ชดุ โดยให้นกั เรียนทาวนั ละ 1 ชดุ เป็นเวลา 2 สปั ดาห์ จากนนั้ ผ้วู ิจยั ทาการ
บนั ทกึ คะแนน โดยสามารถวิเคราะหผ์ ลได้ดังน้ี

ผลการวิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หาวชิ าคณติ ศาสตร์ของนักเรยี นก่อน
และหลังใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะการแก้โจทย์ปญั หาวชิ าคณิตศาสตร์

การวจิ ัยในครง้ั นี้ ผู้วจิ ัยได้วเิ คราะห์เพื่อเปรยี บเทยี บความสามารถในการแก้โจทยป์ ัญหาคณิตศาสตร์
ของนักเรียนก่อนเรียนและหลังใชช้ ุดแบบฝึกเสริมทักษะในการแก้โจทยป์ ัญหาคณติ ศาสตร์ ผลการวิเคราะหด์ ัง
ตาราง

ความสามารถในกkรแก้โจทยป์ ัญหา
วิชาคณิตศาสตร์

ก่อนการทดลอง 9 4.23 4.48

หลังการทดลอง 9 8.65 1.14

7

ตาราง การเปรียบเทียบความสามารถในการแก้โจทยป์ ัญหาวิชาคณติ ศาสตร์ของนักเรยี นกอ่ นและหลงั
ใชแ้ บบฝกึ เสรมิ ทักษะการแกโ้ จทยป์ ัญหาวชิ าคณติ ศาสตร์

จากตาราง พบว่าความสามารถในการแกโ้ จทย์ปญั หาคณติ ศาสตร์ เร่ืองการบวกและการลบ โดยการ
ใชช้ ดุ แบบฝกึ เสรมิ ทักษะการแก้โจทยป์ ญั หาของนักเรยี นก่อนและหลังใชช้ ดุ แบบฝึกทักษะการแก้โจทย์ปัญหา
วิชาคณิตศาสตรเ์ รื่องการบวกและการลบของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 2

หลงั การเรยี น (= 8.65 ) สูงกวา่ ก่อนเรยี น (= 4.23 ) คา่ เฉล่ยี สงู ข้ึน 4.42

สรุปผลการวิจัย

ความสามารถในการแกโ้ จทย์ปัญหาคณิตศาสตรข์ องนกั เรยี นหลงั ใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทักษะการแกโ้ จทย์

ปัญหาสงู กว่าก่อนใชแ้ บบฝึกเสรมิ ทักษะการแก้โจทยป์ ญั หา กลา่ วคอื ความสามารถในการแก้โจทย์ปญั หา

คณิตศาสตร์ของนกั เรียนกลุ่มตัวอย่างที่ได้รบั การเรยี นโดยใช้แบบฝกึ เสริมทักษะการแกโ้ จทยป์ ัญหามกี าร

พฒั นาขึน้ หลงั จากใช้แบบฝึกเสริมทกั ษะการแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวกและการลบแล้วนักเรยี นคะแนนสอบหลัง

เรยี นสูงกวา่ ก่อนเรียนซึง่ เป็นไปตามสมมติฐานท่ตี ้งั ไว้

อภิปรายผลการศกึ ษา

จากการสร้างแบบฝกึ ทักษะการเขียนเกยี่ วกบั การบวกเลขหลกั เดียวเพ่อื ช่วยพัฒนาความสามารถใน

การเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์ ของนกั เรียนชนั้ ประถมศึกษาปีที่ 2 จานวน 1 คน ในครั้งน้ีสามารถอภปิ รายผลได้

ดังนี้

1. พบว่าแบบฝึกฝกึ ทักษะการเขียนเกยี่ วกบั การบวกเลขหลักเดยี วที่ผ้วู จิ ยั ได้จัดทาขนึ้ น้ี สามารถชว่ ย

พัฒนาความสามารถในการเรียนวชิ าคณิตศาสตรข์ องนักเรียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2 ได้เปน็ อย่างดี โดยดูได้

จากผลคะแนนของนกั เรียนซึ่งคอ่ นข้างสูงของนักเรียน

2. จากการวเิ คราะห์ผลการทดสอบเป็นรายบคุ คลยังพบว่ามนี กั เรยี นท่ีเรียนออ่ นมากเท่านนั้ ทค่ี ะแนน

จากผลคะแนนลดลง ซ่ึงมีจานวนเพยี งคนเดียวเท่านน้ั เทา่ น้ันซ่งึ จะต้องมีการวเิ คราะหเ์ ป็นรายบคุ คลต่อไป

3. จะเหน็ ไดว้ า่ การที่ครูให้การเสริมแรงด้วยการให้คาชมเชยทาให้นักเรียนมีกาลงั ใจและทาคะแนนได้

ดขี ึ้น

ขอ้ เสนอแนะ

1. ข้อเสนอแนะในการนาผลวิจัยไปใช้

1.1 ในการจดั การเรียนรู้ ครคู วรคานึงถึงความสามารถของผูเ้ รียนเปน็ สาคัญ เพราะผ้เู รียนแต่

ละคนมีศักยภาพในการเรยี นท่ีแตกตา่ งกัน ให้ผู้เรยี นไดพ้ ฒั นาความสามารถดว้ ยตนเองใหม้ าก โดยผสู้ อนควร

ปรบั กิจกรรมใหเ้ หมาะสมกับผู้เรียนของตน

8

1.2 ครผู ู้สอนต้องคอยสงั เกตผู้เรยี นเป็นรายบุคคลเม่ือพบว่าผ้เู รียนมปี ัญหา ตอ้ งให้คาปรึกษา
และให้กาลงั ใจแกผ่ เู้ รยี นอยา่ งต่อเน่อื ง

1.3 ควรส่งเสริมให้ผูเ้ รียนช่วยเหลอื กันในเรื่องการเรยี น ผ้เู รียนจะไดเ้ กดิ การเรียนรจู้ ากการ
ชว่ ยเหลือผู้อน่ื

2. ขอ้ เสนอแนะจากการทาวิจยั ครง้ั ตอ่ ไป
2.1 ควรมีงานวิจัยเก่ยี วกับการแก้โจทยป์ ัญหาวชิ าคณติ ศาสตร์ โดยใช้แบบฝึกเสริมทกั ษะการ

แก้โจทย์ปญั หาในระดบั ช้ันอืน่ ๆ

9

ภาคผนวก

ชุดแบบฝกึ เสริมทักษะการแก้โจทย์ปญั หาคณิตศาสตร์
เร่ืองการบวกและการลบ

10
ชุดท่ี 1
1. ฟา้ ซอื้ โทรทัศน์เคร่ืองหน่งึ ราคา 990 บาท ซอ้ื วทิ ยุเคร่อื งหน่ึงราคา 90 บาท ฟา้ ซื้อโทรทศั น์และวิทยุรวมเปน็
เงนิ ก่ีบาท

2. นงนุชมเี งนิ 450 บาท แจนมีเงิน 150 บาท นงนุชมเี งนิ มากกว่าแจนกีบ่ าท

3. หมู่บา้ นแหง่ หนึง่ มปี ระชากรท้ังหมด 920 คน ถ้ามปี ระชากรหญิง 116 คน จะมีประชากรชายในหมบู่ า้ นกี่
คน

4. จ๊บุ แจงขายนา้ ตาลทรายได้ 260 ถุง เอกขายนา้ ตาลทรายได้มากกว่าจุ๊บแจง 140 ถุง เอกขายน้าตาลทราย
ได้กี่ถุง

5. พ่อฝากเงินธนาคารไว้ 680 บาท ถอนเงินไปซ้ือจกั ยานยนต์ 280 บาท พอ่ เหลือเงนิ ในธนาคารกบี่ าท

11

ชดุ ที่ 2
1. หนูนาขายเส้อื ผา้ ไดเ้ งนิ 250 บาท จา่ ยค่าเชา่ ร้าน 650 บาท หนนู าเหลือเงินกี่บาท

2. คอมพิวเตอร์เครื่องหนง่ึ ราคา 259 บาท เกดมีเงนิ อยู่ 130 บาท เกดต้องเกบ็ เงินเพิ่มอีกก่ีบาทจึงจะซ้ือ
คอมพิวเตอร์ได้

3. วนั แรกพอ่ คา้ ขายไข่ไก่ได้ 850 ฟอง วนั ท่สี องพ่อคา้ ขายไข่ไก่ได้ 180 ฟอง พ่อค้าขายไขไ่ ก่ได้กี่ฟอง

4. โรงพยาบาลแห่งหนึง่ รักษาคนไขช้ าย 720 คน รักษาคนไข้หญิง 150 คน โรงพยาบาลแหง่ นี้รักษาคนไขร้ วม
ท้ังหมดก่ีคน

5. นนุ่ ซ้อื โทรทศั น์ราคา 280 บาท ซ้ือเครอ่ื งปรับอากาศราคา 580 บาท นุ่นซอ้ื ของท้ังสองอย่างเปน็ เงินท้งั หมด
กบ่ี าท

12
ชุดที่ 3
1.) บอ่ เลีย้ งปลาแหง่ หนง่ึ คร้งั แรกจับปลาขายไดเ้ ปน็ เงนิ 340 บาท ครั้งทส่ี องจบั ปลาขายได้เป็นเงิน 640 บาท
จับปลาขายทัง้ สองคร้ังไดเ้ งินทัง้ หมดกีบ่ าท

2.) โรงงานผลติ ของเลน่ แห่งหนง่ึ เดือนมนี าคมผลิตของเล่นได้ 430 ชิ้น เดือนเมษายนผลิตของเล่นได้ 280 ช้นิ
ในเวลาสองเดือนโรงงานแห่งนี้ผลติ ของเล่นได้ท้งั หมดกีช่ ิน้

3.) สุดามีเงนิ ฝากในธนาคาร 820 บาท ถอนมาซอ่ มแซมบ้าน 250 บาท สุดาเหลือเงนิ ในธนาคารกบี่ าท

4.) นดิ มีเงิน 380 บาท นุชมีเงิน 240 บาท นดิ มเี งนิ มากกวา่ นุชกี่บาท

5.) สวนแหง่ หนง่ึ ขายลาไยได้เงนิ 228 บาท ขายทุเรียนได้เงนิ 223 บาท สวนแหง่ นขี้ ายผลไมท้ ัง้ หมดได้เงนิ ก่ี
บาท

13

ชดุ ท่ี 4
1.) โรงเรยี นแห่งหนงึ่ มีนกั เรียนชาย 287 คน มนี กั เรียนหญิงอยู่ 174 คน รวมมีนักเรยี นทั้งหมดกคี่ น

2.) ซือ้ ถุงมือ 150 กลอ่ ง ซ้ือดินสอ 130 กล่อง ซ้ือถงุ มือและดินสอรวมเปน็ เงินเทา่ ไร

3.) ยายเปร้ียว จ่ายคา่ ไฟ 150 บาท จา่ ยค่าน้า 38 บาท ยายเปร้ยี วจา่ ยเงนิ คา่ ไฟและจ่ายค่าน้าต่างกนั ก่บี าท
4.) นพเหมาจ่ายขดุ บอ่ เลี้ยงปลาราคา 465 บาท ซือ้ พันธุ์ปลามาปล่อยราคา 290 บาท นพตอ้ งจา่ ยเงิน
ทั้งหมดก่บี าท

5.) ปา้ นม่ิ ขายสตอเบอร์รี่ไดเ้ งิน 690 บาท ขายมะมว่ งได้เงิน 290 บาท ป้านม่ิ ขายผลไม้ได้ทง้ั หมดกบ่ี าท

14

ชดุ ท่ี 5
1.) นพดนยั ซ้ือตู้เย็นราคา 990 บาท ซอ้ื เครอ่ื งซกั ผ้าราคา 236 นพดนยั ต้องจา่ ยเงนิ ท้งั หมดกบ่ี าท

2.) เอกซื้อเคร่ืองซักผ้าราคา 159 บาท ซอื้ กลอ้ งถา่ ยรูปราคา 59 บาท เอกต้องจา่ ยเงนิ ท้ังหมดเท่าไร

3.) หนมุ่ ไดร้ บั เงนิ เดือนเดือนละ 260 บาท จา่ ยคา่ เช่าบา้ น 80 บาท หนุ่มเหลอื เงนิ เท่าไร

4.) ร้านขายหนงั สอื แห่งหนึง่ มีหนงั สอื 375 เลม่ ขายไป 235 เล่ม ซือ้ มาเพ่มิ อีก 275 เลม่ ร้านขายหนงั สอื แห่ง
นี้มีหนงั สอื ทั้งหมดกเ่ี ล่ม

5.) น้องมเี งิน 450 บาท พี่มีเงินมากกวา่ น้อง 360 บาท นอ้ งและพี่มีเงนิ รวมกันก่บี าท

15
ชุดท่ี 6
1.) บอยขายขา้ วโพดได้ 540 กโิ ลกรัม ขายขา้ วไดน้ ้อยกว่าข้าวโพด 251 กิโลกรมั ขายขา้ วได้กี่กโิ ลกรมั

2.) รา้ นขายหนังสือแห่งหนึ่งมีหนังสือ 575 เลม่ ขายไป 350 เล่ม ร้านขายหนังสอื แห่งนี้เหลอื หนังสือกีเ่ ล่ม

3.) พ่อมีเงิน 582 บาท แม่มเี งิน 125 บาท พอ่ และแม่มเี งนิ รวมกนั ก่ีบาท

4.) บา้ นชานนทม์ ีวัวนม 672 ตวั มวี วั เนือ้ มากกว่าววั นม 123 ตัว บ้านชานนท์มวี ัวทั้งหมดกตี่ ัว

5.) เครื่องทานา้ อุน่ ราคา 599 บาท หมอ้ หงุ ขา้ วราคา 99 บาท เครื่องทานา้ อ่นุ ราคามากกวา่ หม้อหุงขา้ วก่บี าท

16

ชดุ ท่ี 7
1.) คณุ แม่มีเงนิ 430 บาท จ่ายค่าเช่าบา้ น 126 บาท คุณแมม่ เี งนิ เหลืออยกู่ ี่บาท

2.) โรงงานทาอิฐมอญมีอฐิ อยู่ 125 ก้อน สปั ดาหน์ ้ีขายไปแล้ว 20 กอ้ น สัปดาห์ต่อมาผลิตอกี 50 ก้อน โรงงาน
ทาอิฐมอญน้มี ีอฐิ ก่ีก้อน

3.) ปอมเี งนิ 571 บาท นา้ มีเงิน 256 บาท ปอมเี งนิ มากกวา่ น้ากบ่ี าท

4.) โรงงานแหง่ หนงึ่ ผลติ ขนมได้ 981 หอ่ ส่งขายไปแล้ว 360 หอ่ โรงงานแหง่ น้ีเหลือขนมท่ยี ังไม่ได้สง่ ขายอีกก่ี
หอ่

5.) วนั แรกป้าสายรุ้งขายของไดเ้ งนิ 550 บาท วันท่ีสองขายได้ 350 บาท ขายของสองวันไดเ้ งนิ เทา่ ไร

17

ชุดท่ี 8
1.) สาธิตมเี งนิ ในธนาคาร 840 บาท ปใู่ หม้ าอกี 160 บาท สาธติ มเี งินทง้ั หมดเทา่ ไร

2.) นดิ มีเงิน 679 บาท ซือ้ จักยานราคา 350 บาท นดิ เหลือเงนิ กีบ่ าท

3.) ต้อมซ้ือคอมพวิ เตอรเ์ คร่ืองหนงึ่ ราคา 599 บาท ซ้ือเครื่องกรองน้าราคา 260 บาท ต้อมจา่ ยเงนิ ทัง้ หมดกี่
บาท

4.) โจเลย้ี งไก่ 589 ตวั เลย้ี งววั 345 ตวั โจเลยี้ งไกน่ อ้ ยกว่าวัวกต่ี วั

5.) ฟ้ามีเงิน 600 บาท ได้รับเงนิ จากการประกวดแตง่ เรียงความ 500 บาท ฟ้ามเี งนิ ทงั้ หมดก่บี าท

18

ชุดที่ 9
1). แมป่ ลกู ตน้ ดาวเรือง 320 ตน้ ปลูกตน้ มะลิ 262 ตน้ แมป่ ลกู ตน้ ดาวเรอื งมากกว่าต้นมะลิกต่ี น้

2) นอ้ ยซื้อต้เู ยน็ ราคา 590 บาท ซอ้ื วทิ ยรุ าคา 279 บาท ตู้เยน็ แพงกว่าวทิ ยุกี่บาท
3) สุดามีเงิน 860 บาท ซอ้ื หนังสอื ไป 299 บาท สดุ าเหลอื เงินก่บี าท
4) โรงเรยี นแห่งหน่งึ มีนักเรียนชาย 472 คน มีนักเรยี นหญิง 172 คน โรงเรียนแห่งนี้มีนกั เรียนรวมทั้งหมดก่คี น

5) มุกมเี งนิ 756 บาท ซ้ือจักยานยนต์ 480 บาท มกุ เหลือเงินกบี่ าท

19

ชุดท่ี 10
1.) น้อยซอ้ื ตู้เยน็ ราคา 590 บาท ซือ้ วทิ ยรุ าคา 279 บาท ตู้เยน็ แพงกว่าวิทยุก่บี าท

2.) โรงเรียนแหง่ หนึง่ มนี ักเรียนทัง้ หมด 472 คน มีนกั เรยี นชาย 172 คน ทเ่ี หลอื เป็นนักเรียนหญงิ โรงเรียน
แห่งนม้ี นี กั เรียนหญิงกี่คน

3.) พ่อค้ามสี มดุ 488 เล่ม ซ้ือเพม่ิ อีก 74 เล่ม พ่อค้ามีสมุดทงั้ หมดกเี่ ล่ม

4.) ฟา้ มีเงิน 560 บาท ไดร้ บั เงนิ จากการประกวดแต่งเรียงความ 330 บาท ฟา้ มีเงินทั้งหมดกบี่ าท

5) ฟาร์มสวนสตั วแ์ ห่งหนึ่ง เลี้ยงเปด็ 375 ตัว เล้ยี งไก่ 290 ตวั ฟาร์มแหง่ น้ีเล้ียงเปด็ มากกว่าไก่กต่ี วั

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก