โครงงาน พลังงานไฟฟ้าจากดิน

จ่ายน้ำอัตโนมัติกับแม่เหล็กไฟฟ้าพลังดิน

ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา

นายจักรทิพย์ ฤทธิ์มาก

สถาบันการศึกษา

โรงเรียนบ้านหมอ “พัฒนานุกูล” จังหวัดสระบุรี

วัน/เดือน/ปี ทำโครงงาน

01 มกราคม 2541

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่องการจ่ายน้ำอัตโนมัติกับแม่เหล็กไฟฟ้าพลังดิน เป็นการศึกษาที่หาวิธีการควบคุมการจ่ายน้ำให้กับพืชอย่างอัตโนมัติ โดยที่เมื่อถึงเวลาที่พืชต้องการน้ำก็จะมีน้ำออกมาจ่ายในกับพืช เมื่อน้ำเพียงพอกับพืชเครื่องก็จะหยุดการจ่ายน้ำโดยอัตโนมัติ ระบบการควบคุมการจ่ายน้ำนี้ ใช้ระบบสวิตช์แม่เหล็กไฟฟ้า (สวิตซ์รีเลย์) กล่าวคือ เมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไปในแม่เหล็กไฟฟ้าที่จะทำให้หน้าสัมผัสของสวิตช์แตะกันหรือแยกออกจากกันได้ จากหน้าสัมผัสของสวิตช์ก็ต่อไฟฟ้า 220 โวลต์ไปเข้ากับปั้มสูบน้ำได้ ส่วนไฟฟ้าที่เข้าไปเลี้ยงในแม่เหล็กไฟฟ้าก็ได้จากเซลล์ไฟฟ้าพลังดิน (แห่ง Cu กับ Zn จุ่มอยู่ในสารละลายดินกับน้ำ) และระบบที่บอกความเปียกแห้งของดินที่ปลูกพืช (ความชื้นของดิน) ก็ใช้เซลล์ไฟฟ้าพลังดินเป็นตัวควบคุมอีกด้วย ผลจากการศึกษาพบว่า เครื่องจ่ายน้ำระบบแม่เหล็กไฟฟ้าพลังดินสามารถจ่ายน้ำให้กับพืชได้ตามต้องการ

หัวเรื่อง และคำสำคัญ

จ่าย,น้ำ,อัตโนมัติ,แม่เหล็กไฟฟ้า,พลังดิน

ประเภท แบ่งตามผลผลิต สสวท.

โครงงาน

รูปแบบการนำเสนอ แบ่งตามผลผลิต สสวท.

สื่อสิ่งพิมพ์ในรูปแบบดิจิทัล

ลิขสิทธิ์

โรงเรียนบ้านหมอ พัฒนานุกูล จังหวัดสระบุรี

วันที่เสร็จ

วันพฤหัสบดี, 01 มกราคม 2541

ผู้แต่ง หรือ เจ้าของผลงาน

นางสาวยุพิน โพธิ์สวัสดิ์, นางสาววันเพ็ญ ศรีราชา, นางสาวสุมาลี ทองหะรา

ดูเพิ่มเติม

คุณอาจจะสนใจ

Hits

(78721)

1 – methycyclopropene (1 – MCP) ยับยั้งการทำงานของเอทธิลีนในพืชได้หลายชนิด การศึกษานี้มีวัตถุประสงค ...

Hits

(69545)

The member of Gesneriaceae (African violet) are widely propagated for indoor ornamental plants. How ...

Hits

(77830)

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อหาเปอร์เซ็นต์การตายของเอ็มบริโอของกุ้งก้ามกรามอายุ 20 วันในน้ำทะเลเที ...

การศึกษาค้นควา้ องค์ความรู้เรอื ง เซลลไ์ ฟฟา้ จากถ่านผลไม้ คณะผู้จดั ทา นางสาวกิติยา ยะแสงชั้นม. 5/5 เลขท่ี 8 นางสาววรทั ยา บางจู ชน้ั ม.5/5 เลขท่ี 23 นางสาวชญาดา คายันต์ ชั้นม.5/5 เลขท3่ี 0 นางสาวหัสดาภรณ์ จิตอารยี ์ ช้ันม.5/5 เลขที่ 32 นางสาวธนัญญา ณัฐโชติสุนทร ช้ันม.5/5 เลขท่ี 38 ครูทีป่ รึกษา ครูดารงค์ คันธะเรศย์ เอกสารฉบับน้เี ปน็ ส่วนหนง่ึ ของการศึกษาคน้ คว้าและสรา้ งองค์ความรู้ (IS1) โรงเรียนปัว อาเภอปัว จงั หวัดน่าน สานกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 37 ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2563

การศกึ ษาค้นควา้ องคค์ วามรูเ้ รอื ง เซลลไ์ ฟฟ้าจากถ่านผลไม้ คณะผจู้ ัดทา นางสาวกติ ิยา ยะแสงชน้ั ม. 5/5 เลขที่ 8 นางสาววรัทยา บางจู ช้ันม.5/5 เลขท่ี 23 นางสาวชญาดา คายันต์ ช้ันม.5/5 เลขท่ี30 นางสาวหัสดาภรณ์ จิตอารีย์ ชัน้ ม.5/5 เลขท่ี 32 นางสาวธนญั ญา ณัฐโชตสิ นุ ทร ช้ันม.5/5 เลขที่ 38 ครทู ปี่ รึกษา ครดู ารงค์ คนั ธะเรศย์ เอกสารฉบับนี้เปน็ สว่ นหน่ึงของการศึกษาคน้ ควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ (IS1) โรงเรยี นปัว อาเภอปวั จังหวดั น่าน สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษามัธยมศกึ ษา เขต 37 ภาคเรยี นที่ 1 ปีการศึกษา 2563

ช่ือเรื่อง : เซลล์ไฟฟา้ จากผลไม้ ผจู้ ัดทา : นางสาวกติ ยิ า ยะแสง นางสาวสรัทยา บางจู นางสาวชญาดา คายนั ต์ นางสาวหสั ดาภรณ์ จติ อารีย์ นางสาวธนัญญา ณฐั โชติสุนทร ท่ปี รึกษา : ครดู ารงค์ คันธะเรศย์ ปีการศึกษา : 2563 บทคดั ยอ่ การศกึ ษา การเปรียบเทียบปรมิ าณกระแสไฟฟ้าในผลไม้ มีจกุ ประสงคเ์ พ่ือเปรยี บเทียบการมีกระแสไฟฟ้า ในผลไม้ 2ชนิด ได้แก่ เลม่อน และแอปเปิล จากนั้นวดั ปรมิ าณไฟฟ้าโดยใช้ตวั นาไฟฟา้ คือ ตะปู จากนนั้ วัดค่า ปรมิ าณกระแสไฟฟา้ กระแสตรง มีค่าต่างศักย์ไฟฟา้ 2 โวลต์ จากการทดลองพบวา่ ใชผ้ ลไมท้ ั้ง 2 ชนิดไดแ้ ก่ เล มอ่ น และแอปเปลิ มกี ระแสไฟฟา้ จากการศึกษาเปรยี บเทียบการมีกระแสไฟฟา้ ในผลไม้ทงั้ สองชนดิ จงึ สรปุ ไดว้ ่า แบตเตอรี่ทาจากโลหะสองประเภททแ่ี ตกตา่ งกันในสารละลายทเี่ ปน็ กรดในการทดลองน้ีทองแดงและสกรู (เป็น โลหะชุบสังกะส)ี เป็นโลหะสองชนิดและนา้ มะนาวเปน็ สารละลายทเ่ี ปน็ กรด กระแสไฟฟ้าถูกสรา้ งข้ึนเมื่อโลหะสองชนดิ มีแนวโน้มทจี่ ะสูญเสียอิเล็กตรอนทม่ี ปี ระจุไฟฟา้ ลดลง เนอ่ื งจากสังกะสสี ูญเสยี อิเลก็ ตรอนได้งา่ ยกว่าทองแดง ดงั น้ัน สงั กะสเี ป็นขั้วลบ (ขว้ั ลบ) และทองแดงเปน็ ขัว้ บวก (ข้ัวบวก) เมื่อแบตเตอร่ีเชือ่ มต่อกับหลอดไฟ LED วงจรจะปดิ ลง (วงจรปดิ หมายถงึ สวิตซถ์ กู เปดิ ) อิเลก็ ตรอนไหล จากข้ัวไฟฟ้าสงั กะสีผา่ นหลอด LED ไปยงั ขว้ั ไฟฟา้ ทองแดงและหลอดไฟสว่างข้ึน

กิตตกิ รรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์ฉบับน้ีสาเร็จลงได้ด้วยดีเพราะได้รบั ความอนุเคราะห์จากครูดารงค์ คันธะเรศย์ ทีก่ รณุ าให้ความรู้และให้คาปรกึ ษาขอเสนอแนะในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ระหว่างการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ตลอดจนแนะนาเอกสารและตาราต่าง ๆ ทใี่ ชส้ าหรับศกึ ษาค้นคว้านอกจากนี้ผู้จดั ทาโครงงาน ขอกราบ ขอบพระคุณเป็นอย่างยง่ิ ต่อ ครดู ารงค์ คันธะเรศย์ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ สถานทที่ ดลอง จนโครงงานประสบ ความสาเร็จสมบูรณล์ งด้วยดี ขอขอบพระคณุ เพ่อื นๆ ทุกคนทีม่ ีสวนช่วยเหลอื และให้กาลังใจ ผ้จู ัดทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ขอขอบพระคุณมา ณ โอกาสน้ี นางสาวกติ ยิ า ยะแสง นางสาวสรัทยา บางจู นางสาวชญาดา คายันต์ นางสาวหสั ดาภรณ์ จิตอารยี ์ นางสาวธนญั ญา ณัฐโชติสนุ ทร

สารบัญ หนา้ ค เรอื่ ง ง บทคดั ย่อ จ กติ ติกรรมประกาศ ช สารบญั ซ สารบัญตาราง สารบญั ภาพ 1 บทท่ี 1 บทนา 1 1 1.1 ความเป็นมา 2 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.3 ขอบเขต 3 1.4 ประโยชนท์ ไ่ี ดร้ บั 3 บทท่ี 2 ทฤษฎีทีเ่ ก่ียวข้อง 3 2.1 มะนาว 4 2.2 แอปเปลิ 2.3 กระแสไฟฟ้า 5 2.4 การผลิตกระแสไฟฟ้า 5 บทท่ี 3 วิธีดาเนนิ งาน 3.1 วธิ ดี าเนินงาน 6 3.2 เคร่อื งมือ 6 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาค้นคว้า 4.1 ผลไม้(มะนาวและแอปเปิล)สามารถผลติ กระแสไฟฟ้าได้ 8 4.2 สามารถนาไฟฟ้าท่ีผลิตได้มาใช้ในชวี ิตประจาวนั ได้ 8 บทท่ี 5 สรปุ ผล อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ 8 5.1 สรุปผล 5.2 ปัญหาและอุปสรรคในการศึกษาค้นควา้ 5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา บรรณานุกรม ประวัติผู้ศกึ ษา

บทที่ 1 บทนา 1. ความเปน็ มา ไฟฟา้ เป็นพลังงานที่มคี วามสาคญั ในชีวิตประจาวันของมนุษย์เป็นอยา่ งมากใน ปัจจบุ ัน ซ่ึงการผลิตไฟฟา้ สามารถทาได้ในหลายรปู แบบ ท้ังจาก การผลิตไฟฟ้าจากการเหนย่ี วนาทาง แม่เหล็กไฟฟา้ เชน่ การผลติ ไฟฟ้าจากเขื่อน กังหันลม เปน็ ตน้ หรอื การผลติ ไฟฟ้าจากปฏิกริ ยิ าเคมี ที่ สามารถทดลองได้ด้วยอุปกรณ์ที่หาได้ง่าย โดยคณะผู้จดั ทาจึงทาการจดั ทาการทดลองเซลลไ์ ฟฟา้ จาก ผลไมข้ ึ้นเพือ่ ทดลองวา่ ผลไม้สามารถผลิตกระแสไฟฟา้ ไดห้ รือไม่ 2. วัตถปุ ระสงค์ 2.1 เพ่อื ทดลองวา่ ผลไมส้ ามารถผลติ กระแสไฟฟ้าได้หรือไม่ 2.2 เพือ่ ทดสอบว่าผลไม้ชนดิ ไหนบา้ งทส่ี ามารถผลติ กระแสไฟฟา้ ได้ ระหว่างมะนาว กับแอปเปลิ 2.3 เพอื่ หากมีไฟฟา้ จะสามารถใชก้ ระแสไฟฟ้าไดจ้ ริงหรือไม่ 3. ขอบเขต (ระบุขอบเขตของงานทท่ี า) 3.1 สถานที่ ห้องปฎิบตั ิการวทิ ยาศาสตร์ โรงเรียนปวั 3.2 ระยะเวลา สบื ค้นเรอ่ื งทีส่ นใจ 26/08/63 รวบรวมขอ้ มลู ทเ่ี กีย่ วข้อง 27-29/08/63 วเิ คราะห์ข้อมลู ท่รี วบรวมได้ 29/08/63 จดั ทาโครงงาน 30/08/63-16/09/63 สรปุ ผลการทาโครงงาน 30/09/63 3.3 ตวั แปรหรือประชากรและกลมุ่ ตัวอย่าง 3.1 ตวั แปรต้น คือ ผลไม้ที่ใชแ้ ตล่ ะชนิด 3.2 ตัวแปรตาม คอื กระแสไฟฟ้าทเี่ กิดข้ึน

2 4. ประโยชน์ทไี่ ด้รบั 4.1 แอปเปิลและเลม่อนสามารถผลิตกระแสไฟฟา้ ได้ 4.2 ทาให้รวู้ า่ ในผลไมม้ ีกระแสไฟฟา้ อยู่

3 บทที่ 2 ทฤษฎที เี่ กี่ยวข้อง ในการศกึ ษาเรอื่ งเซลล์ไฟฟ้าจากถ่านผลไม้ ผู้จัดทาได้รวบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลักการต่าง ๆจากเอกสารทีเ่ ก่ยี วขอ้ งดงั ตอ่ ไปนี้ เรอ่ื ง การแปรรูปพลังงานไฟฟ้า 2.1 มะนาว มะนาว เป็นไมผ้ ลชนิดหน่งึ ผลมีรสเปรยี้ วจัด จดั อย่ใู นสกุลสม้ (Citrus) ผลสเี ขียว เม่อื สุกจัด จะเปน็ สีเหลอื ง เปลือกบาง ภายในมเี นอื้ แบ่งกลบี ๆ ชมุ่ น้ามาก นบั เป็นผลไม้ที่มีคุณค่า นิยมใชเ้ ปน็ เครือ่ งปรงุ รส นอกจากน้ียงั ถือว่ามีคุณค่าทางโภชนาการและทางการแพทย์ดว้ ย มะนาวมนี า้ มนั หอม ระเหยทใ่ี ห้กล่นิ สดชืน่ เพราะมีส่วนประกอบของสารซโิ ตรเนลลลั (Citronellal) ซิโครเนลลลิ อะซี เตต (Citronellyl Acetate) ไลโมนีน (Limonene) ไลนาลูล (Linalool) เทอร์พีนีออล (Terpeneol) ฯลฯ รวมทั้งมีกรดซติ ริค (Citric Acid) กรดมาลกิ (Malic Acid) และกรด แอสคอร์บิก (Ascorbic Acid) ซ่งึ ถือเปน็ กรดผลไม้ (AHA : Alpha Hydroxy Acids) กลมุ่ หน่งึ 2.2 แอปเปิล แอปเปลิ เป็นไม้ยนื ตน้ ขนาดเล็ก ผลัดใบ สูง 3 - 12 เมตร เรือนยอดกว้าง กง่ิ หนาแนน่ ใบรูป ไขเ่ รียงสลบั ยาว 5 - 12 ซม. กว้าง 3 - 6 ซม. กา้ นใบยาว 2 - 5 ซม. ปลายใบแหลม ขอบใบหยัก คล้ายฟนั เล่ือย ใต้ใบปกคลุมด้วยขนนุม่ เล็กนอ้ ย ดอกเกดิ ขึน้ พรอ้ มการแตกใบใหมใ่ นฤดใู บไมผ้ ลิ ดอก มสี ขี าวแต้มสชี มพู และเข้มขึ้นเมือ่ ดอกใกล้โรย มกี ลบี ดอกห้ากลีบ เส้นผ่าศูนยก์ ลาง 2.5 - 3.5 ซม. ผล สกุ ในฤดูใบไม้รว่ ง โดยทั่วไปมีเสน้ ผ่าศนู ย์กลาง 5 - 9 ซม. กลางผลมีคาร์เพล (carpel) ห้าโพรงเรยี ง ตัวในรูปดาวหา้ แฉก แต่ละโพรงบรรจุไปดว้ ยเมล็ดหนึ่งถึงสามเมล็ด (wikipedia, 2563: ออนไลน)์ โดยคณุ คา่ ทางโภชนาการของแอปเป้ลิ ต่อน้าหนัก 100 กรัม จะให้พลงั งาน 52 kcal และ 220 kJ และยังประกอบไปด้วยวติ ามิน และแรธ่ าตทุ ม่ี ีความสาคญั อยา่ งมากต่อร่างกาย เชน่ วิตามินเอ วิตามิน บี 1 วิตามินบี 2 วติ ามินบี 3 วิตามินบี 5 วิตามินบี 6 กรดโฟลิก วิตามินซี ธาตแุ คลเซียม ธาตุ แมกนีเซียม ธาตุโพแทสเซยี ม ธาตุฟอสฟอรสั ธาตสุ งั กะสี ธาตุเหล็ก และยงั ประกอบไปด้วย คารโ์ บไฮเดรต ไขมัน และโปรตนี อกี ด้วย เห็นไหมล่ะวา่ มีคุณประโยชน์เต็ม ๆ สาหรับพันธ์ุแอปเปิล้ คาดกนั วา่ ทั่วโลกจะมอี ย่ปู ระมาณ 4,000-5,000 ชนิด โดยประโยชน์ของแอปเปิล้ แต่ละสายพันธ์จุ ะ โดดเดน่ แตกตา่ งกนั ไปตามสีของแอปเป้ิล (medthai, 2560: ออนไลน์)

4 2.3 กระแสไฟฟา้ กระแสไฟฟา้ (องั กฤษ: electric current) คอื การไหลของประจุไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้า อิเล็กตรอนที่เคล่ือนท่ใี นประจุยังสามารถถูกนาพาโดยไอออนไดเ้ ช่นกันในสารอิเล็กโทรไลต์ หรอื โดย ทั้งไอออนและอเิ ล็กตรอนเช่นใน พลาสมา กระแสไฟฟา้ มีหน่วยวดั SI เปน็ แอมแปร์ ซง่ึ เปน็ การไหลของประจุไฟฟา้ ทีไ่ หลขา้ มพ้ืนผิวหน่งึ ดว้ ย อตั ราหน่ึง คูลอมบ์ ต่อวนิ าที กระแสไฟฟา้ สามารถวัดได้โดยใช้ แอมปม์ เิ ตอร์ กระแสไฟฟา้ ก่อใหเ้ กดิ ผลหลายอยา่ ง เช่น ความรอ้ น (Joule heating) ซึ่งผลติ แสงสว่าง ใน หลอดไฟ และยังกอ่ ใหเ้ กดิ สนามแมเ่ หลก็ อกี ดว้ ย ซึ่งถกู นามาใชอ้ ย่างแพร่หลายใน มอเตอร์, ตวั เหน่ียวนา, และเครื่องกาเนิดไฟฟ้า อนภุ าคทน่ี าพาประจถุ กู เรยี กวา่ พาหะของประจไุ ฟฟ้า ในโลหะตัวนาไฟฟ้า อเิ ลก็ ตรอนจากแต่ละ อะตอมจะยดึ เหน่ียวอยู่กับอะตอมอย่างหลวม ๆ และพวกมันสามารถเคล่ือนที่ได้อยา่ งอิสระอยู่ภายใน โลหะนน้ั ภายใตส้ ภาวะการณ์หน่งึ อเิ ลก็ ตรอนเหลา่ นี้เรยี กว่า อเิ ลก็ ตรอนนากระแส พวกมนั เปน็ พาหะ ของประจุในโลหะตัวนานนั้ กระแสไฟฟา้ เกิดขึ้นจากการไหลของอิเลก็ ตรอนผา่ นวัสดุชนิดหน่ึง น่ันคอื การถา่ ยโอนประจไุ ฟฟ้า อิเลก็ ตรอนจะเคลอื่ นท่ีถ้าอยู่ในสนามไฟฟา้ ซึ่งสรา้ งความต่างศกั ย์ไฟฟ้าระหว่างสองบริเวณ เพราะฉะนนั้ ความต่างศกั ย์ไฟฟ้าจึงจาเปน็ ในการทาใหเ้ กดิ กระแสไฟฟา้ วงจรไฟฟา้ เป็นวงจรปดิ ประกอบด้วยแหลง่ กาเนิดกระแสไฟฟา้ และอุปกรณ์อ่ืน ๆ ที่ยอมให้กระแสไฟฟา้ ไหลผา่ น (wikipedia, 2563: ออนไลน์) 2.4 การผลิตกระแสไฟฟา้ การผลิตกระแสไฟฟา้ ในชวี ิตประจาวนั เราใช้พลงั งานหรือกระแสไฟฟ้าจากแหล่งกาเนิดต่าง ๆ ไมว่ ่าจะเป็นกระแสไฟฟา้ จากสถานีไฟฟ้าที่สง่ มาตามสายไฟ เขา้ สอู่ าคารบา้ นเรือน หรอื จาก เซลลไ์ ฟฟา้ เคมี ซึ่งในสภาวการณป์ จั จุบันทป่ี ริมาณการใช้พลังงานไฟฟา้ ทวมี ากขึน้ เรอ่ื ย ๆ จงึ มกี า คิดค้นวิธีการตา่ ง ๆ ท่ีจะนาไปใชผ้ ลติ กระแสไฟฟา้ ให้เพยี งพอกับความต้องการและมตี น้ ทนุ ต่า อะตอมของธาตุแตล่ ะชนิดจะประกอบดว้ ยโปรตอนท่ีเป็นประจุไฟฟา้ บวกและอเิ ลก็ ตรอนทเี่ ปน็ ประจุ ฟา้ ลบในจานวนท่ีเท่ากัน ซง่ึ ทาให้ธาตชุ นดิ น้ันมสี ภาพเป็นกลางทางไฟฟ้าวตั ถุทุกชนดิ เม่ืออยสู่ ภาพ เปน็ กลางทางไฟฟ้าจะไม่แสดงอานาจประจาไฟฟ้าออกมา การผลิตกระแสไฟฟ้าในปจั จุบนั ส่วนใหญ่ จะใชพ้ ลังงานน้าเป็นแรงดนั ไปหมุนกังหันของเคร่ืองกาเนดิ ไฟฟา้ เพราะระบบมีความซับซ้อนนอ้ ยกวา่ รวมไปถึงมรี าคาถูกและจัดหาได้งา่ ย ทาใหเ้ กดิ มลพษิ ต่ากว่าการผลิตไฟฟา้ ด้วยวธิ อี ืน่ ๆ (สุทธพิ งศ์ สานักนิตย์, 2560: ออนไลน์

5 บทที่ 3 วิธศี กึ ษาคน้ คว้า 3.1 วธิ ีการดาเนนิ งาน โลหะต่างชนดิ กนั 2ชิน้ เช่น แผน่ ทองแดงและแผน่ อลมู ิเนียมจมุ่ อยใู่ นสารละลายอิ เลก็ โทรไลต์ เม่ือทาปฎกิ ิรยิ ากับสารละลายอิเล็กโทรไลต์ เช่น น้ามะนาว น้าส้ม โลหะต่างชนดิ นัน้ จะมี คา่ ศกั ย์ไฟฟ้าต่างกนั เมื่อต่อโลหะทัง้ 2ชนิดเข้ากบั หลอด LED จะครบวงจรไฟฟ้าทาให้หลอด LED สวา่ งขึ้น เน่ืองจากความต่างศักยข์ องโลหะทั้ง2ชนดิ จึงเกดิ การไหลของอิเล็กตรอนทาใหเ้ กิด กระแสไฟฟ้า ซ่งึ เป็นพลงั งานรปู แบบหน่งึ โลหะแตล่ ะชนดิ จะทาปฎกิ ริ ยิ ากบั ไอออนในสารละลายอเิ ล็กโทรไลต์ ทาใหเ้ กดิ ศักย์เคมไี ฟฟา้ ของ โลหะแต่ละชนดิ ซึง่ ค่าศักยเ์ คมีไฟฟา้ ทีต่ ่างกนั ของโลหะแตล่ ะคจู่ ะเป็นแรงผลักทท่ี าใหเ้ กดิ การไหลเวยี น ของกระแสไฟฟา้ เมื่อครบวงจร ผลไมม้ ีคา่ ความเปน็ กรดด่างที่ต่างกันและมีความสามารถในการนาประจุไอออนท่ีตา่ งกันโดยทวั่ ไป ผลไมท้ ม่ี ีความเป็นกรดสูง เช่นมะนาว แอปเปิล 3.2 เครือ่ งมือ มะนาว แอปเปิล

6 ตะปู หลอดไฟLED คลิปหนีบสายไฟปากจรเข้

7 บทท่ี 4 ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ การศึกษาเร่ืองเซลล์ไฟฟ้าจากถ่านผลไม้ ผ้ศู ึกษาไดท้ าการเกบ็ รวบรวมข้อมลู 4.1 ผลไม้(มะนาวและแอปเปิล)สามารถผลติ กระแสไฟฟ้าได้ 4.2 สามารถนาไฟฟ้าทีผ่ ลติ ได้มาใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ 4.1 ผลไม้(มะนาวและแอปเปลิ )สามารถผลิตกระแสไฟฟา้ ได้ กระไฟฟา้ จากการปฏิกริ ิยาทางเคมที ี่เรยี กกว่าelectochhemical energyโดยใชค้ วามเป็น กรดอ่อนๆในตวั ของพชื ชนดิ ต่าง ๆมาทาปฏกิ ิริยากับตะปู จึงทาให้เกิดพลังงานไฟฟ้าทท่ี าใหห้ ลอดLED สว่างขน้ึ 4.2 สามารถนาไฟฟ้าท่ีผลติ ได้มาใช้ในชวี ติ ประจาวนั ได้ สามารถนามาใชใ้ นชีวติ ประจาวันไดเ้ นื่องจากการทดลองตะปูจะแตกตัวเปน็ ออิ อนและให้ อิเล็กตรอนมากกวา่ หลอดLED ทาให้เกิดการเคลอื่ นท่ีของอเิ ลก็ ตรอนจากสังกะสีไปสหู่ ลอดLED ขณะเดียวกนั ก็จะเกิดการเคล่ือนทข่ี องกระแสไฟฟ้าทิศทางตรงกันขา้ มกบั การไหลของอิเลก็ ตรอนจาก หลอดLEDไปสตู่ ะปูจนกระทั่งข้ัวไฟฟา้ ทง้ั สองขว้ั มปี ระจุไฟฟา้ เทา่ กัน จงึ หยุดการเคลือ่ นที่ ไฟฟา้ ที่ได้ สามารถนามาใชใ้ นชวี ติ ประจาวันได้ แต่สามารถใชไ้ ดใ้ นระยะเวลาทส่ี ้นั เพราะในผลไม้สามารถผลติ ไฟฟ้าไดอ้ ยา่ งจากัด

8 บทท่ี 5 สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 5.1 สรุปผลการทดลอง แบตเตอร่ีทาจากโลหะสองประเภททแี่ ตกต่างกันในสารละลายทเี่ ปน็ กรดในการทดลองนี้ ทองแดงและสกรู (เป็นโลหะชุบสงั กะสี) เปน็ โลหะสองชนิดและนา้ มะนาวเปน็ สารละลายทเี่ ปน็ กรด กระแสไฟฟ้าถูกสร้างขนึ้ เมอ่ื โลหะสองชนิดมีแนวโน้มที่จะสูญเสียอิเล็กตรอนทีม่ ปี ระจไุ ฟฟ้าลดลง เน่ืองจากสงั กะสสี ญู เสยี อเิ ลก็ ตรอนได้งา่ ยกวา่ ทองแดง ดงั นั้น สังกะสีเป็นขวั้ ลบ (ขว้ั ลบ) และทองแดง เป็นขัว้ บวก (ข้ัวบวก) เมื่อแบตเตอร่เี ช่อื มตอ่ กบั หลอดไฟ LED วงจรจะปดิ ลง (วงจรปดิ หมายถึงสวิตซ์ ถูกเปดิ ) อิเล็กตรอนไหลจากขั้วไฟฟ้าสงั กะสผี ่านหลอด LED ไปยงั ข้ัวไฟฟ้าทองแดงและหลอดไฟสวา่ ง ขน้ึ 5.2 ปญั หาและอุปสรรคในการศึกษาค้นคว้า สอดคลอ้ งหรอื ขัดแยง้ ในทางทฤษฎีอยา่ งไร การทดลองตะปูจะแตกตัวเป็นออิ อนและให้อิเลก็ ตรอนมากกว่าหลอดLED ทาใหเ้ กิดการ เคล่อื นที่ของอิเลก็ ตรอนจากสงั กะสีไปสู่หลอดLEDขณะเดียวกันกจ็ ะเกดิ การเคลอ่ื นทข่ี องกระแสไฟฟา้ ทิศทางตรงกันขา้ มกบั การไหลของอิเล็กตรอนจากหลอดLEDไปสูต่ ะปูจนกระท่งั ข้วั ไฟฟ้าทง้ั สองขว้ั มี ประจุไฟฟ้าเทา่ กัน จงึ หยดุ การเคลือ่ นที่หลอดLEDจงึ สวา่ งขึ้น การทดลองจึงสอดคลอ้ งกับทฤษฎีการ แปรรูปพลงั งานไฟฟา้ 5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา การวางแผนเวลาในการทาการทดลองและการทาโครงงานควรวางแผนใหด้ ขี นึ้ การแบ่ง งานภายในกลุ่มควรแบ่งให้เท่ากนั

บรรณานกุ รม Sanokwit.//2562.//1 พฤศจิกายน 2563./จาก///sanookwit.com/?p=345 กระทรวงพลังงาน.//1 พฤศจิกายน 2563./จาก///www.eppo.go.th/images/encon/t14.pdf

ประวัตผิ ู้จัดทา ช่อื เรื่อง เซลลไ์ ฟฟา้ จากถ่านผลไม้ 1.นางสาวกติ ิยา ยะแสง ประวัติสว่ นตัว วนั เดือน ปี ทเ่ี กดิ 02/09/46 อายุ 17 ปี ท่อี ยู่ 238/7 บ้านวังม่วง ต.เจดยี ์ชัย อ.ปวั จ.น่าน 55120 ประวัติการศึกษา ปี พ.ศ.2558 ชัน้ ป.6 ร.ร. บ้านนาวงศ์ ปี พ.ศ.2561 ช้นั ม.3 ร.ร.ปัว ปี พ.ศ.2562 ชนั้ ม.4/5 เลขที่ 6 2.นางสาววรัทยา บางจู ประวตั ิสว่ นตวั วัน เดือน ปี ที่เกดิ 6/12/46 อายุ 17 ปี ทอี่ ยู่ 314 ม.3 ต.ปวั ต.ปัว จ.น่าน 55120 ประวตั ิการศึกษา ปี พ.ศ.2558 ชน้ั ป.6 ร.ร.บา้ นปรางค์ ปี พ.ศ.2561 ชั้น ม.3 ร.ร.ปัว ปี พ.ศ.2562 ช้นั ม.4/5 เลขที่ 20 3.นางสาวชญาดา คายันต์ ประวตั ิสว่ นตวั วนั เดอื น ปี ท่ีเกดิ 14/03/2546 อายุ 17 ปี ท่ีอยู่ 54 หมู่2 ต.เปอื อ.เชียงกลาง จ.น่าน 55160 ประวัติการศึกษา ปี พ.ศ.2558 ชนั้ ป.6 ร.ร.ชุมชนรัชดาภิเษกมิตรภาพที่115 ปี พ.ศ.2561 ชน้ั ม.3 ร.ร.ปวั ปี พ.ศ. 2562 ชัน้ ม.4/5 เลขท่ี 31

4.นางสาวหัสดาภรณ์ จติ อารีย์ ประวตั ิส่วนตัว วนั เดือน ปี ท่เี กดิ 12/4/46 อายุ 17 ปี ทอ่ี ยู่ บ้านดอนสถาน 169/4 ต.สถาน อ.ปัว จ.น่าน 55120 ประวัติการศึกษา ปี พ.ศ.2558 ชนั้ ป.6 ร.ร.บ้านดอน(ศรีเสรมิ กสิกร) ปี พ.ศ.2561 ชั้น ม.3 ร.ร.ปัว ปี พ.ศ.2562 ชัน้ ม.4/5 เลขที่ 33 5.นางสาวธนัญญา ณัฐโชติสุนทร ประวัตสิ ่วนตัว วัน เดอื น ปี ทเี่ กิด 21/11/46 อายุ 16 ปี ทีอ่ ยู่ 6หมู่2 บา้ นหว้ ยสะนาว ตาบลปา่ กลาง อาเภอปวั จังหวดั น่าน 55120 ประวัติการศกึ ษา ปี พ.ศ.2558 ชั้น ป.6 ร.ร.วรนคร ปี พ.ศ.2561 ชั้น ม.3 ร.ร.วัดโพธ์ินมิ ติ ปี พ.ศ. 2562 ช้ัน ม.4/5 เลขที่ 36

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก