สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ใน ข้อ ใด ที่มีความเจริญ มาก ที่สุด

ตั้งอยู่ฝั่งตะวันออกของประเทศไทยมาแต่สมัยโบราณ มีชุมชนโบราณและเมืองเก่าแก่ มีโบราณสถาน โบราณวัตถุ ขนบธรรมเนียมประเพณี และการละเล่นพื้นเมือง ศิลปพื้นบ้านเป็นมรดกทางวัฒนธรรมสงขลา เพิ่งปรากฏเป็นครั้งแรกในบันทึกของพ่อค้าและนักเดินเรือชาวอาหรับ-เปอร์เซีย ระหว่าง ปี พ.ศ.1993-2093 ในนามของเมืองซิงกูร์ หรือซิงกอร่า แต่ในหนังสือประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักร สยามของนายกิโลลาส แซร์แวส เรียกชื่อเมืองสงขลา ว่า "เมืองสิงขร" จึงมีการสันนิษฐานว่า คำว่า สงขลา เพี้ยนมาจากชื่อ "สิงหลา" (อ่าน สิง-หะ-ลา) หรือสิงขร

เหตุผลที่สงขลามีชื่อว่า สิงหลา แปลว่าเมืองสิงห์ โดยได้ ชื่อนี้มาจากพ่อค้าชาวเปอร์เซีย อินเดีย แล่นเรือมาค้าขาย ได้เห็นเกาะหนู เกาะแมว เมื่อมองแต่ไกล จะเห็นเป็นรูป สิงห์สองตัวหมอบเฝ้าปากทางเข้าเมืองสงขลา ชาวอินเดีย จึงเรียกเมืองนี้ว่า สิงหลา ส่วนไทยเรียกว่า เมืองสทิง เมื่อมลายูเข้ามาติดต่อค้าขายกับเมืองสทิง ก็เรียกว่า เมืองสิงหลา แต่ออกเสียงเพี้ยนเป็นสำเนียงฝรั่งคือ เป็น ซิงกอร่า (Singora) ไทยเรียกตามเสียงมลายูและฝรั่งเสียง เพี้ยนเป็นสงขลา อีกเหตุผลหนึ่งอ้างว่า สงขลา เพี้ยนมา จาก "สิงขร" แปลว่า ภูเขา โดยอ้างว่าเมืองสงขลาตั้งอยู่ บริเวณเชิงเขาแดง ต่อมาได้มีการพระราชทานนาม เจ้าเมืองสงขลาว่า "วิเชียรคีรี" ซึ่งมีความหมายสอดคล้อง กับลักษณะภูมิประเทศ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้มีพระบรมราชวินิจฉัยไว้ว่า "สงขลา" เดิมชื่อ สิงหนคร (อ่านว่า สิง-หะ-นะ-คะ-ระ) เสียงสระอะอยู่ท้าย มลายูไม่ชอบ จึงเปลี่ยนเป็นอา และชาวมลายูพูดลิ้นรัวเร็ว ตัดหะ และ นะ ออก คงเหลือ สิง-คะ-รา แต่ออกเสียงเป็น ซิงคะรา หรือ สิงโครา จนมีการเรียกเป็น ซิงกอรา

สงขลา เป็นเมืองประวัติศาสตร์ มีเรื่องราวสืบต่อกันตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ มีการค้นพบหลักฐาน ได้แก่ ขวานหิน ซึ่งเป็นเครื่องมือสมัยก่อนประวัติศาสตร์ ที่อำเภอสทิงพระ ประวัติ ความเป็นมา และวัฒนธรรมสมัยที่ เมืองสทิงพระเจริญ เค บูรล์เบท ได้ให้ทัศนะว่า สทิงพระ คือศูนย์กลางของอาณาจักรเซี้ยะโท้หรือเซ็กโท เป็นแหล่งหนึ่งในเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ ที่ได้รับวัฒนธรรมอินเดียโดยตรงในสมัยอาณาจักรศรีวิชัย เป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 7 ศตวรรษ เพราะมีร่องรอยทางสถาปัตยกรรม ประติมากรรม ที่แสดงให้เห็นว่าเมืองสทิงพระเป็น ศูนย์กลางการปกครองดินแดน รอบ ๆ ทะเลสาบสงขลาในสมัยนั้น

การแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์แบบสากล
             นักประวัติศาสตร์และนักโบราณคดีได้แบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ เป็น 2 สมัย คือ
1. สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสมัยที่คนมีการศึกษาเรื่องราวต่างๆ จากเครื่องมือเครื่องใช้ยังไม่มีการใช้ตัวอักษรในการสื่อสาร สามารถแบ่งออกเป็นยุคย่อยๆ ตามพัฒนาการในการใช้เครื่องมือของมนุษย์ดังนี้
             1.1 ยุคหิน เป็นยุคที่ใช้หินเป็นเครื่องมือและอาวุธ แบ่งเป็น 3 ยุค คือ
                          - ยุคหินเก่า เป็นยุคที่มนุษย์รู้จักทำเครื่องมือจากหินหยาบๆ พบทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
                           - ยุคหินกลาง เป็นยุคที่มนุษย์ได้เริ่มทำเครื่องมือที่มีความประณีตมากขึ้น เช่น เครื่องมือแบบบักโซ - ฮัวบินเหนียน ปัจจุบันพบได้ทั่วไปในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่อ่าวไทย และฝั่งตะวันตกของเกาะชวา
                           - ยุคหินใหม่ มนุษย์นำหินมาจัดทำให้เครื่องมือและอาวุธมีความละเอียดมากขึ้นบางครั้งเรียกว่า ยุคหินขัด พบมาก ในตะวันออกกลาง จีนและอินเดียในทวีปและหมู่เกาะในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
              1.2 ยุคโลหะ เป็นยุคที่นำโลหะมาเป็นเครื่องมือเครื่องใช้ระยะแรกใช้ทองแดงและดีบุกแบ่งออกเป็น ยุคย่อยๆ ดังนี้
                           - ยุคสำริด มีการนำทองแดงมาหลอมรวมกับดีบุกกลายเป็นสำริด ทำอาวุธ เครื่องมือเครื่องใช้ เช่น กลองมโหรทึก
                           - ยุคเหล็ก เป็นมนุษย์กลุ่มแรกที่มีการใช้เหล็ก คือ ตะวันออกกลางเป็นการนำเอาของที่มีความแข็งและคงทนกว่ามาเป็น เครื่องมือเครื่องใช้
2. สมัยประวัติศาสตร์ เป็นสมัยที่มนุษย์มีการใช้ตัวอักษรในการสื่อสาร ชาวตะวันตกแบ่งสมัยประวัติ- ศาสตร์ออกเป็นสมัยต่าง ๆ ดังนี้
             2.1 สมัยโบราณ เริ่มตั้งแต่มนุษย์สร้างเมืองบนลุ่มแม่น้ำไทกรีสยูเฟตีส และประดิษฐ์ตัวอักษรใช้ นอกจากนั้นยังมีชาวอียิปต์ สร้างความเจริญบริเวณลุ่มแม่น้ำไนล์ คนอินเดียสร้างความเจริญลุ่มแม่น้ำสินธุ คนจีน สร้างความเจริญบริเวณลุ่มน้ำฮวงโห คน กรีกและโรมันสร้างความเจริญบริเวณทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
             -เป็นดินแดนที่อยู่ลุ่มแม่น้ำไทกริสและยูเฟรทิส
             -ประดิษฐ์อักษรคูนิฟอร์ม
             -การสร้างซิกกูแรตใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนา
             -รู้จักขุดคลองระบายน้ำ
             -พวกอะมอไรต์ได้ตั้งจักรวรรดิบาบิโลนเนียนและจัดทำประมวลกฎหมาย "ประมวลกฎหมายฮัมมูราบี" บทลงโทษแบบ รุนแรง
อารยธรรมอียิปต์
              -มีความเก่าแก่เทียบเท่าได้กับอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
              -อยู่บริเวณที่ราบลุ่มแม่น้ำไนล์ของอียิปต์
             -การประดิษฐ์ตัวอักษรภาพ "ไฮโรกลิฟิก"
             -พีระมิดเพื่อใช่เก็บพระศพของฟาโรห์>>>มัมมี่
              -รู้จักการชลประทาน การขุดคลองส่งน้ำ การทำปฏิทิน อารยธรรมกรีก
             -มีความเจริญรุ่งเรื่องในบริเวณคาบสมุทรบอลข่านทางตอนเหนือของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน
             -ในสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราช "ยุคเฮเลนิสติก" สามารถขยายอาณาเขตไปถึงเอเชียไมเนอร์ เปอร์เซีย อียิปต์ จนถึง อินเดีย
             -หลังสมัยพระเจ้าอเล็กซานเดอร์มหาราชกรีกก็แตกแยกออกเป็นอาณาจักรต่างๆและตกอยู่ใต้ การยึดครองของโรมัน
             -ชาวกรีกนิยมปั้นรูปคนที่แสดงความรู้สึกและเคลื่อนไหว
             -วรรณกรรมคือ มหากาพย์อีเลียดและอริสโตเติล
อารยธรรมโรมัน
             - ชาวโรมันเป็นกลุ่มชนที่อาศัยอยู่ในคาบสมุทรอิตาลี
             -โรมันได้รับอิธิพลจากอารยธรรมกรีก
             - การจัดทำกฎหมายสิบสองโต๊ะ
              -ด้านการปกครองใช้รูปแบบการปกครองแบบสาธารณรัฐและแบบมีจักรพรรดิหรือซีซาร์ -ศาสนานับถือศาสนาคริสต์
             2.2 สมัยกลาง เริ่มเกิดขึ้นตั้งแต่อาณาจักรโรมันล่มสลาย ทำให้ดินแดนในยุโรปแบ่งแยกเป็นแคว้นเล็ก แคว้นน้อย คนหันไป สนใจศาสนาคริสต์ ทำให้ศาสนามีอิทธิพลต่อคนยุโรปสมัยนั้นอย่างมาก ในขณะเดียวกัน ศาสนาอิสลามก็เริ่มมีอิทธิพลใน ตะวันออกกลางด้วย
3. สมัยใหม่ เป็นสมัยที่มีการสำรวจทางทะเล มีความเจริญทางด้านวิทยาการและเทคโนโลยีมีการแข่งขัน ทางการค้า เกิดความคิด เรื่องชาตินิยมอย่างรุนแรง
4. สมัยปัจจุบัน เป็นช่วงตั้งแต่เกิดสงครามโลกครั้งที่ 1 เป็นต้นมา จนเกิดสงครามโลกครั้งที่ 2 เกิด สงครามเย็น และมีการล่ม สลายของสหภาพโซเวียตมาจนถึงปัจจุบัน

ที่มา : //ac127.wordpress.com/2011/02/07/การแบ่งยุคสมัยทางประวั/
ที่มา : //kruattasit.wordpress.com/2010/11/04/

ข้อใดคือยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์

(1) ยุคก่อนประวัติศาสตร์ เป็นยุคที่ยังไม่มีหลักฐานการบันทึกเรื่องราวไว้เป็นลายลักษณ์อักษร หากต้องการศึกษาเรื่องราว สมัยก่อนประวัติศาสตร์ ต้องอาศัยหลักฐานแวดล้อมอื่นประกอบ เช่น โครงกระดูก เครื่องมือ เครื่องใช้ ตลอดจนเครื่องประดับต่าง ๆ ซึ่งยังแบ่งย่อยเป็น 2 ยุค ตามพัฒนาการ ของเครื่องมือ เครื่องใช้ คือ

ยุคสมัยในข้อใดเก่าแก่ที่สุด

อาณาจักรที่เก่าแก่ที่สุด คือ อาณาจักรทวารวดี • พบเหรียญเงินที่มีจารึก “ศรีทวารวตี ศวรปุณยะ” • อาณาจักรโบราณอื่น เช่น ละโว้ ตามพรลิงค์ ศรีวิชัย เป็นต้น

ข้อใดคือความเจริญของมนุษย์ยุคหินเก่า

คนในยุคหินเก่าดำรงชีพด้วยการล่าสัตว์ และเสาะแสวงหาพืชผักผลไม้กินเป็นอาหาร มีการพึ่งพาอาศัยธรรมชาติและสภาวะแวดล้อมอย่างเต็มที่ กล่าวคือ เมื่อฝูงสัตว์ที่ล่าเป็นอาหารหมดลงก็ต้องอพยพย้ายถิ่นติดตามฝูงสัตว์ไปเรื่อย ๆ การที่มนุษย์จำเป็นต้องแสวงหาถิ่นที่อยู่ใหม่เพราะต้องล่าสัตว์ดังกล่าว อาจทำให้คนต้องปรับพฤติกรรมการบริโภคไปใน ...

ยุคสมัยก่อนประวัติศาสตร์โลกมีอะไรบ้าง

สมัยก่อนประวัติศาสตร์ เป็นสมัยที่มนุษย์ยังไม่รู้จักการประดิษฐ์ตัวอักษร การศึกษาค้นคว้าจะใช้หลักฐานโบราณคดี เช่น เครื่องมือเครื่องใช้ เครื่องประดับ ภาพวาดตามฝาผนังถ้ำ ฯลฯ สมัยก่อนประวัติศาสตร์จะแบ่งออกได้เป็น 2 ยุค ได้แก่ ยุคหินและยุคโลหะ โดยแบ่งตามระดับความเจริญก้าวหน้าในการประดิษฐ์เครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก