การสื่อสารในยุคดิจิทัลมีกี่รูปแบบ อะไรบ้าง

การสื่อสารยุค
ดิจิทัล

By: ธีรภัทร พงษ์พิษ

การสื่อสารดิจิทัล ความหมายของ
การสื่อสารดิจิทัล

กระบวนการที่ใช้ทักษะในการวิเคราะห์ผู้รับสาร
และส่งสารให้มีความเหมาะสมกับ ระดับของการ
สื่อสารของแต่ละบุคคล ผ่านช่องทางในการสื่อสาร
ต่าง ๆ ในที่นี้คือ สื่อ ดิจิทัล ทำให้เกิดการแลกเปลี่ยน
สาร เช่น ข้อความ ภาพ เสียง เป็นต้น เพื่อให้ผู้รับ
สารเข้าใจสาร ที่ตามจุดประสงค์ของผู้ส่งการตั้งใจ

องค์ประกอบหลักของกระบวนการสื่อสาร

ประกอบด้วย 5 ส่วน

การสื่อสารดิจิทัลต่างจากการสื่อสารแบบ

เดิมอย่างไร?

มีลักษณะ 5 ประการที่ทำให้การสื่อสารดิจิทัลแตกต่างจากวิธีการ
สื่อสารแบบเดิม คือ

พร้อมโต้ตอบมากขึ้น
มีส่วนร่วมมากขึ้น
คุ้มค่ามากขึ้น
กระจายอำนาจมากขึ้น
มีลำดับชั้นน้อยลง

ลักษณะเหล่านี้ช่วยยืนยันว่าการสื่อสารใดๆ ที่เกิดขึ้นผ่านช่องทางดิจิทัลนั้นแตกต่างกับการ
สื่อสารแบบเดิมอย่างสิ้นเชิง ทั้งในแง่ของการทำงานในองค์กรและการสื่อสารการตลาด
ซึ่งความแตกต่างนั้นเป็นทั้งข้อดีและข้อเสีย

รูปแบบการส่งสาร

ปัจจัยด้านเวลา หมายถึง การสื่อสารระหว่าง
ผู้รับสารและผู้สงสารโดยมีการ ส่งสาร ผ่าน
ช่องทางภายในช่วงเวลาเดียวกัน
(Synchronous) กับการสื่อสารระหว่างผู้รับ
สาร และผู้ส่งสารในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน
(Asynchronous)

ปัจจัยด้านสถานที่ หมายถึง การสื่อสารระหว่าง
ผู้รับสารและผู้ส่งสารอยู่ใน สถานที่เดียวกัน
(In-Person) และผู้รับสารและผู้ ส่งสารอยู่ต่าง
สถานที่กัน (Roam) หรือการสื่อสาร ผ่านช่อง
ทางออนไลน์ (Online)

ข้อดี-ข้อเสีย ของการสื่อสารดิจิทัล

ข้อดีของการสื่อสารดิจิทัล ข้อเสียของการสื่อสารดิจิทัล

การสื่อสารดิจิทัลนั้นรวดเร็ว มี การสื่อสารดิจิทัลที่สามารถผ่านช่องทาง
ประสิทธิภาพ และสะดวกสบาย สามารถสน ต่างๆ ได้สะดวกก็อาจส่งผลให้ไม่สามารถ
ทนาแบบเรียลไทม์กับเพื่ อนร่วมงานหรือ ตัดการเชื่อมต่อเมื่อสิ้นสุดการทำงานแต่ละ
ลูกค้าจากอีกฟากหนึ่งของโลกโดยไม่ต้อง วันทำงานได้ อาทิ การส่งอีเมล การแชท
ลุกจากโต๊ะทำงาน สามารถใช้ช่องทาง หรือการแจ้งเตือน (Push Notifications)
ดิจิทัลเพื่ อสื่อสารกับทั่วโลกได้ในคราว จากโมบายแอปซึ่งติดตั้งอยู่บนสมาร์ตโฟน
เดียว และใช้ช่องทางที่เกี่ยวข้องเพื่อ ส่งผลให้เส้นแบ่งระหว่างชีวิตการทำงาน
รวบรวมความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ และชีวิตส่วนตัวของบุคคลทำได้ไม่ชัดเจน
รู้สึกว่าทำงานหนักโดยไม่มีโอกาสได้หยุด
พั ก

การสื่อสารยุคดิจิทัลให้ปลอดภัย

จุดประสงค์หลัก คือ เพื่อให้เกิด
การ สื่อสารที่มีคุณภาพที่ไม่เพียง
แต่การ บรรลุวัตถุประสงค์แต่ยัง
ต้องมีความ สร้างสรรค์ และ
ปลอดกัยต่อผู้รับสาร โดยมีการ
พิ จารณาว่าผู้ส่งสารจะส่งสาร
อะไรมายังผู้รับสาร

เพื่ อเป็นการเสริมสร้างความ
ปลอดกัยในการใช้การสื่อสาร
ดิจิทัล ผู้ใช้ควรคำนึงถึงหลัก 2P
และ 2F ซึ่ง ประกอบด้วยราย
ละเอียด ดังนี

อ้างอิง

//www.gramdigital.net/blog/digital-communication

//skrudl.skru.ac.th/file/1.3.pdf


ผู้ศึกษาจำเป็นต้องมีความเข้าใจการสื่อสารผ่านทางสื่อ และเครื่องมือทางดิจิทัลในแง่มุมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นความเหมาะสม ความแตกต่าง ความเสี่ยงของสื่อ และเครื่องมือพร้อมทั้งสามารถสื่อสาร โดยการใช้ข้อความหรือถ่อยคำอย่างสร้างสรรค์ มีประโยชน์ และเคารผู้อื่น เพื่อประโยชน์ต่อส่วนรวม นอกจากนี้ยังรวมถึง ความสามารถวิเคราะห์ข้อมูลต่าง ๆ ที่มีอยู่บนสื่อดิจิทัลต่าง ๆ ว่าสิ่งไหนเป็น ข้อเท็จจริง สิ่งไหนเป็นความเห็น สิ่งไหนเป็นความจริงบางส่วน สิ่งไหนเป็นความจริงเฉพาะเหตุการณ์ นั้น ๆ เพื่อไม่ให้ตกเป็นเหยื่อของการสื่อสารทางดิจิทัล

  • เราจะสื่อสารอย่างไรให้เหมาะสม เกิดประสิทธิภาพ?
  • เราจะวิเคราะห์และประเมินข้อมูลข่าวสาร ที่มีจํานวนมหาศาลในยุคดิจิทัลอย่างไร?
  • เราจะจัดการกับความสัมพันธ์บนโลกออนไลน์ ทางอินเทอร์เน็ตอย่างไร ?

คุณเคยสงสัยหรือไม่ว่าใครเป็นผู้รับผิดชอบโฆษณาบนสื่อโซเชียลที่คุณเห็นเมื่อเลื่อนดูฟีดของคุณหรือใครกับที่เป็นคนส่งอีเมลแจ้งให้คุณทราบเกี่ยวกับกิจกรรมหรือโปรโมชันที่คุณสนใจ

ผู้เชี่ยวชาญที่อยู่เบื้องหลังกลยุทธ์ทางการตลาดเหล่านี้ทำงานในส่วนของการสื่อสารดิจิทัล (Digital Communication) ซึ่งเป็นหน่วยงานที่องค์กรส่วนใหญ่ขาดไม่ได้ในปัจจุบัน

หากคุณสนใจที่จะเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งในอุตสาหกรรมการสื่อสารดิจิทัล ตอนนี้เป็นช่วงเวลาที่เหมาะสมที่สุดเพราะมีความต้องการตำแหน่งนี้จำนวนมากสำหรับผู้ที่มีทักษะด้านสื่อดิจิทัล จากข้อมูลของ McKinley  ผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดดิจิทัลเป็นบทบาทที่ได้รับการว่าจ้างมากที่สุดในหมู่ผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดทั้งหมดในปี 2018 และ 59% ของผู้นำตลาดวางแผนที่จะจ้างงานในตำแหน่งนี้ในปี 2019

การสื่อสารดิจิทัลคืออะไรกันแน่?

การสื่อสารดิจิทัล (Digital Communication) เป็นความพยายามขององค์กรในการสื่อสารออนไลน์ ธุรกิจส่วนใหญ่ในทุกวันนี้ใช้ช่องทางออนไลน์ที่หลากหลาย ตั้งแต่การเผยแพร่ข้อมูลผ่านเว็บไซต์ โมบายแอป การประชุมผ่านวิดีโอ การแชทบนมือถือ การเขียนบทความผ่านบล็อก การส่งข้อความผ่านอีเมลหรือสิ่งพิมพ์ดิจิทัล ตลอดจนการโทรศัพท์หากัน เป็นต้น เพื่อเชื่อมต่อและสื่อสารกับผู้มุ่งหวัง ลูกค้า พนักงาน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในปัจจุบัน

กระบวนการสื่อสารดิจิทัลผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (สมาร์ทโฟน แท็บเล็ต โน๊ตบุ๊ค คอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ) ยังช่วยอำนวยความสะดวก ประหยัดแรง เวลา และเงินได้มาก ง่ายกว่า ถูกกว่า เร็วกว่า และยืดหยุ่นมากกว่าเนื่องจากเป็นการสื่อสารที่เกิดขึ้นได้แม้จะอยู่ห่างไกลหรือระหว่างเดินทาง

แต่เนื่องจากการสื่อสารดิจิทัลซึ่งส่วนใหญ่ทำผ่านอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ รูปแบบการสื่อสารที่เกิดขึ้นจึงไม่ใช่การสื่อสารทางเดียวอีกต่อไปแต่เป็นการสื่อสารที่มุ่งโต้ตอบโดยตรงกับผู้รับสารเพื่อตอบสนองต่อความเป็นปัจเจกของผู้บริโภคให้มากขึ้น ดังนั้นการสื่อสารดิจิทัลจึงต้องดำเนินงานผ่านผู้เชี่ยวชาญที่เข้าใจถึงประโยชน์ของเทคโนโลยีต่างๆ และวิธีการเผยแพร่ข้อความซึ่งมีความหลากหลาย พัฒนาการสื่อสารการตลาดและการสื่อสารกับลูกค้าให้มีประสิทธิภาพ

“วันนี้ ทางเลือกในการเผยแพร่ข้อความนั้นหลากหลายและเร็วกว่า 2-3 ทศวรรษที่ผ่านมา” 

ดร.เอ็ดเวิร์ด พาวเวอร์ส ศาสตราจารย์ด้านวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาการสื่อสารองค์กรและองค์กรและวิทยาศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัลและสื่อ

ดร.พาวเวอร์ส กล่าวว่า “ผู้เชี่ยวชาญด้านการสื่อสารดิจิทัลต้องคำนึงถึงวิธีการนำเสนอเครื่องมือใหม่ๆ เหล่านี้อย่างถูกวิธี” ตัวอย่างจาก WWF ประเทศเดนมาร์ก พวกเขาได้พัฒนาแคมเปญโดยใช้ประโยชน์จากคุณสมบัติของโพสต์ระยะสั้นๆ บน Snapchat เพื่อใช้ปกป้องสัตว์ใกล้สูญพันธุ์

ผู้ใช้งาน Snapchat ต่างก็คุ้นเคยกับการเซลฟี่แบบที่พร้อมจะหายไปภายในไม่กี่วินาทีหลังจากโพสต์ พวกเขาได้ถ่ายทอดข้อความขององค์กรผ่านการแจ้งเตือนผู้ใช้งาน Snapchat ว่าสัตว์ใกล้สูญพันธุ์สามารถหายไปได้เร็วเพียงใด ด้วยการแบ่งปันภาพถ่ายอันน่าทึ่งซึ่งเป็นภาพถ่ายระยะใกล้ของสัตว์ใกล้จะสูญพันธุ์พร้อมกับข้อความ “อย่าปล่อยให้นี่เป็นเซลฟี่สุดท้ายของฉัน”

WWF ขอให้ผู้ใช้ดำเนินการง่ายๆ สองประการ: บริจาคและแชร์โพสต์ แคมเปญนี้เรียบง่าย แต่ก็ประสบความสำเร็จอย่างมาก ภายในไม่กี่ชั่วโมงหลังจากโพสต์บน Snapchat มีผู้คน 5,000 คนแชร์โพสต์บน Twitter ภายในสิ้นสัปดาห์ ผู้ใช้ Twitter มากกว่า 120 ล้านคนได้เห็นข้อความของ WWF ในเวลาเพียงสามวัน องค์กรการกุศลบรรลุเป้าหมายการระดมทุนตลอดทั้งเดือน

WWF ไม่ได้เลือกที่จะโพสต์ใน Snapchat เพียงเพราะความนิยมของสื่อ พวกเขาใช้วิธีการเชิงกลยุทธ์ขั้นสูงที่นำข้อความและสื่อมารวมกันในลักษณะที่น่าสนใจ นายจ้างในหลายอุตสาหกรรมกำลังมองหาผู้เชี่ยวชาญที่สามารถใช้การสื่อสารดิจิทัลในลักษณะเดียวกันได้

“ถ้าคุณสามารถบูรณาการทักษะด้านการสื่อสารการตลาดดั้งเดิมเข้ากับเทคโนโลยีดิจิทัลที่เกิดขึ้นใหม่ คุณจะกลายเป็นผู้ที่มีทักษะสูงในงานสื่อสารการตลาด” ดร.พาวเวอร์ส กล่าว “ความต้องการผู้เชี่ยวชาญด้านการตลาดดิจิทัลกำลังขยายตัวอย่างรวดเร็วทั่วทุกองค์กร องค์กรไม่แสวงหากำไร หน่วยงานราชการ สถาบันการศึกษาและยังไม่มีแนวโน้มที่จะลดลง เพราะการสื่อสารดิจิทัลนั้นเริ่มฝังแน่นอยู่ในโลกของเราแล้วในขณะนี้”

การสื่อสารดิจิทัลต่างจากการสื่อสารแบบเดิมอย่างไร

มีลักษณะ 5 ประการที่ทำให้การสื่อสารดิจิทัลแตกต่างจากวิธีการสื่อสารแบบเดิม คือ

  1. พร้อมโต้ตอบมากขึ้น
  2. มีส่วนร่วมมากขึ้น
  3. คุ้มค่ามากขึ้น
  4. กระจายอำนาจมากขึ้น
  5. มีลำดับชั้นน้อยลง

ลักษณะเหล่านี้ช่วยยืนยันว่าการสื่อสารใดๆ ที่เกิดขึ้นผ่านช่องทางดิจิทัลนั้นแตกต่างกับการสื่อสารแบบเดิมอย่างสิ้นเชิง  ทั้งในแง่ของการทำงานในองค์กรและการสื่อสารการตลาด ซึ่งความแตกต่างนั้นเป็นทั้งข้อดีและข้อเสีย

ข้อดี-ข้อเสีย ของการสื่อสารดิจิทัล

ข้อดีของการสื่อสารดิจิทัล

การสื่อสารดิจิทัลนั้นรวดเร็ว มีประสิทธิภาพ และสะดวกสบาย พนักงานสามารถสนทนาแบบเรียลไทม์กับเพื่อนร่วมงานหรือลูกค้าจากอีกฟากหนึ่งของโลกโดยไม่ต้องลุกจากโต๊ะทำงาน ผู้นำของบริษัทสามารถใช้ช่องทางดิจิทัลเพื่อสื่อสารกับพนักงานทั่วโลกได้ในคราวเดียว และใช้ช่องทางที่เกี่ยวข้องเพื่อรวบรวมความคิดเห็นจากพนักงานเหล่านั้นอย่างมีประสิทธิภาพ

ในความเป็นจริง วิธีทำการสื่อสารการตลาดสมัยใหม่ส่วนใหญ่ก็นับว่าเป็นการสื่อสารดิจิทัลแทบทั้งนั้น แคมเปญบนโซเชียลมีเดียและโฆษณาวิดีโอเป็นเพียงวิธีการสำหรับบริษัทที่ใช้ในการสื่อสารมวลชนกับผู้มีโอกาสเป็นลูกค้าที่เน้นความรวดเร็วและคุ้มค่า

เมื่อมองไปยังบรรดาธุรกิจต่างๆ ที่ใช้รูปแบบการสื่อสารแบบดิจิทัล ต่างก็มั่นใจว่าเทคโนโลยีสมัยใหม่จะช่วยปรับปรุงวิธีการดำเนินงานของบริษัทได้มาก จากวิธีการสื่อสารที่ง่ายและเข้าถึงได้สะดวกจะช่วยให้พนักงานมีเวลาจดจ่อกับงานที่สำคัญกว่าได้

ข้อเสียของการสื่อสารดิจิทัล

ในขณะที่โลกธุรกิจที่เปิดรับการสื่อสารแบบดิจิทัล แต่ก็มีข้อเสียเล็กน้อยเกิดขึ้นจากการใช้งานประการหนึ่งคือ การทำให้พนักงานสามารถสื่อสารดิจิทัลผ่านช่องทางต่างๆ ได้สะดวกก็อาจส่งผลให้พนักงานไม่สามารถตัดการเชื่อมต่อเมื่อสิ้นสุดการทำงานแต่ละวันทำงานได้ อาทิ การส่งอีเมล การแชทหรือการแจ้งเตือน (Push Notifications) จากโมบายแอปซึ่งติดตั้งอยู่บนสมาร์ตโฟน ส่งผลให้เส้นแบ่งระหว่างชีวิตการทำงานและชีวิตส่วนตัวของพนักงานทำได้ไม่ชัดเจน พนักงานจะเหนื่อยหน่ายและรู้สึกว่าทำงานหนักโดยไม่มีโอกาสได้หยุดพัก

การสื่อสารดิจิทัลทำให้หลายบริษัทเริ่มกังวลถึงความปลอดภัยของข้อมูล แฮกเกอร์สามารถเข้าสู่การประชุมเสมือนจริงและแทรกแซงได้ การใช้อีเมลปลอมเพื่อบุกรุกระบบออนไลน์ขององค์กร ทุกครั้งที่ข้อมูลของบริษัทส่งผ่านอินเทอร์เน็ตก็มีความเสี่ยงที่ข้อมูลเหล่านี้จะรั่วไหลออกไป

แม้การสื่อสารดิจิทัลจะช่วยให้ธุรกิจสื่อสารกับลูกค้า สมาชิก ผู้มุ่งหวัง พนักงาน คู่ค้า ได้รวดเร็วและประหยัดกว่าที่เคย แต่นั่นก็ไม่ได้หมายความว่ากลุ่มคนเหล่านั้นจะยินดีสื่อสารกับธุรกิจของคุณตลอดเวลา (แม้ตัวพวกเขาเองจะเป็นผู้สมัครรับอีเมลหรือดาวน์โหลดโมบายแอปของคุณ) ดังนั้นการสื่อสารดิจิทัลจึงจำเป็นต้องทำอย่างระมัดระวัง คำนึงถึงความเป็นส่วนตัวเพราะอาจส่งผลกระทบโดยตรงต่อภาพลักษณ์ของแบรนด์ ทั้งในแง่ของอารมณ์ความรู้สึกและกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (PDPA) อีกด้วย

เราปฏิเสธคงไม่ได้ว่าวิธีการสื่อสารดิจิทัลนั้นรวดเร็วกว่า หลากหลายกว่า ใช้งานได้จริง และคล่องตัวกว่าการสื่อสารแบบดั้งเดิม การสื่อสารแบบดิจิทัลกลายเป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ เมื่อดูจากข้อมูลของ We are Social และ Hootsuite เราจะพบว่า วันนี้ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตชาวไทยมีมากถึง 69.5% หรือประมาณ 48.59 ล้านคน หากปราศจากการสื่อสารดิจิทัลพวกเราทุกคนก็คงต้องเขียนจดหมายเพื่อพูดคุยกันอยู่

หากคุณต้องการพัฒนาการสื่อสารดิจิทัลให้กับธุรกิจของคุณ หรือต้องการคำแนะนำใดๆ เกี่ยวกับการพัฒนาการสื่อสารทั้งการขายและการตลาดเพื่อเสริมสร้างแบรนด์ของคุณให้เติบโตในระยะยาว โทรหาเราวันนี้ 095-229-3655 เราพร้อมให้คำปรึกษา หรือเยี่ยมชมเว็บไซต์ของเราได้ที่ www.gramdigital.net

การสื่อสารดิจิทัล มีอะไรบ้าง

การสื่อสารยุคดิจิทัล หมายถึง การสื่อสารระหว่างบุคคลและสังคม ผ่าน เครือข่ายอินเทอร์เน็ตโดยการใช้อุปกรณ์ดิจิทัล ต่าง ๆ เช่น คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์สมาร์ตโฟน โทรศัพท์ดิจิทัล เป็นต้น และผ่านช่องทางการ สื่อสารดิจิทัลหรือดิจิทัลแพลตฟอร์ม (Digital Platform)

องค์ประกอบของการสื่อสารในยุคดิจิทัลมีอะไรบ้างพร้อมอธิบาย

2.1 แนวคิดการสื่อสารยุคดิจิทัล (Communication Model in digital Age) องค์ประกอบหลักของแบบจ าลองการสื่อสารประกอบด้วย (เพ็ญนิดา ไชยสายัณห์,2553:1) 1. ผู้ท าการสื่อสาร 4. ตัวสาร 2. รหัส 5. บริบท 3. ตัวสื่อ/ช่องทาง ทั้ง 5 องค์ประกอบดังกล่าวนี้ให้พิจารณาในเรื่องของบทบาทที่ทั้ง 5 องค์ประกอบสวมอยู่

รูปแบบของสื่อดิจิทัลมีกี่ประเภท

ประเภทของสื่อดิจิตอล.
สื่อดิจิตอลมีอยู่4..
ประเภทประกอบด้วย.
1. CD Training..
2. CD Presentation..
3. VCD/DVD..
4. E-book และ E-document..

Digital Era มี 4 ยุคอะไรบ้าง

เปิดยุค Digital 1.0-4.0.
Digital 1. ยุคของอินเทอร์เน็ต ... .
Digital 2.0 ยุคแห่งโซเชียลมีเดีย ... .
Digital 3.0 ยุคของบิ๊กดาต้า อนาไลท์ติกส์ /คลาวด์คอมพิวติ้ง /แอพพลิเคชั่น ... .
Digital 4.0 ยุค Machine-2-Machine..

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก