ตัวอย่าง PLC วิทยาศาสตร์ มัธยม

Professional

Learning

Community

การพัฒนาการเรยนการสอนโดยใช้กระบวนการ PLC

Best Practice : การพัฒนาชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ส าหรับนักเรียน

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก

ชื่อกลุ่ม PLC : Active Teacher

กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

สมาชิกกลุ่ม PLC ประกอบด้วย

1. รศ.ดร. มาลี ไชยเสนา ที่ปรึกษา

2. นายยรรยง ปกป้อง ประธาน

3. นางบุญปลูก เสงี่ยมศักดิ์ กรรมการ

4. นายศักดิ์ดา เพียรชนะ กรรมการ
5. นายธงสิน พลโยธา กรรมการ

6. นางนภัสวรรณ โรจนะ กรรมการ

7. นางพัทธิ์ธีรา พลอาษา กรรมการ/เลขานุการ

-1-

Step 1 : Logbook
ครั้งที่ 1/2561 ชั่วโมง PLC ที่ 1

1) ประเด็น : เลือกสรรปัญหาที่ส าคัญ

2) กลุ่มสาระการเรียนรวิทยาศาสตร์
ู้
3) วันที่ 16 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2561 (15.30 น. – 16.30 น.) จ านวน 1 ชั่วโมง

4) สถานที่ ห้องอุ่นใจ (ห้องพกครู ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น) โรงเรียนบ้านดงเจริญ

5) สมาชิก PLC (Professional Learning Community) ประกอบด้วย

ล าดับที่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง / โรงเรียน บทบาท

1 รศ.ดร. มาลี ไชยเสนา รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ที่ปรึกษา

2 นายยรรยง ปกป้อง ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร ผู้น า PLC
3 นางบุญปลูก เสงี่ยมศกดิ์ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก

4 นางนภัสวรรณ โรจนะ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
5 นายธงสิน พลโยธา ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก

6 นายศักดิ์ดา เพียรชนะ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
7 นางพัทธิ์ธีรา พลอาษา ครูช านาญการ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก/ผู้บันทึก

6) การเสนอปัญหา
สมาชิกกลุ่ม PLC แต่ละคนได้เสนอปัญหาที่เกิดขึ้นจากประสบการณ์การเรียนการสอนที่ผ่านมา สรุปได้ดังนี้

ผู้เสนอปัญหา ปัญหาที่เสนอ

นายยรรยง ปกป้อง 1. นักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับเนื้อหาวิทยาศาสตร์

2. นักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
3. นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

4. นักเรียนไม่มีนิสัยใฝ่รู้ ใฝ่เรียนวิทยาศาสตร์
5. นักเรียนขาดทักษะการวางแผนและการจัดการ



นางบุญปลูก เสงี่ยมศกดิ์ 1. นักเรียนขาดทักษะการสังเกต และทกษะการวัดซึ่งเป็นพื้นฐานในการเรียน
2. นักเรียนใช้อุปกรณ์การทดลองไม่ได้ และไม่คล่องแคล่ว
3. นักเรียนขาดทักษะการน าเสนอข้อมูล

4. นักเรียนไม่สนใจและให้ความส าคัญกบวิทยาศาสตร์

-2-

ผู้เสนอปัญหา ปัญหาที่เสนอ

นางพัทธิ์ธีรา พลอาษา 1. นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. นักเรียนขาดทักษะการสื่อสารและการน าเสนอข้อมูล

3. นักเรียนขาดความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียน

นายธงสิน พลโยธา 1. นักเรียนขาดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเนื้อหาวิทยาศาสตร์

2. นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

นายศักดิ์ดา เพียรชนะ 1. นักเรียนไม่สามารถตอบค าถามจากเรื่องที่เรียนได้

2. นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

นางนภัสวรรณ โรจนะ 1. นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ไม่ได้
3. นักเรียนขาดระเบียบวินัยในการเรียนวิทยาศาสตร์

7) การจัดกลุ่มปญหา

น าปัญหาที่สมาชิก PLC ได้เสนอและแสดงความคิดเห็นมาวิเคราะห์หาองค์ประกอบที่คล้ายคลึงกัน หรือหา
องค์ประกอบร่วม หรือคุณลักษณะ/เกณฑ์ที่มีลักษณะเหมือนกัน โดยใช้ทักษะการจ าแนกประเภท และทักษะการจัดกลุ่ม

เช่น ใช้พฤติกรรมเป็นเกณฑ์ (ความรู้ ทักษะ จิตพสัย) ใช้เนื้อหาเป็นเกณฑ์ (ศาสนา ภูมิประเทศ ทวีป) และในที่นี้ได้
แบ่งกลุ่มของปัญหาสมาชิกที่น าเสนอ ได้ดังนี้

ปัญหาด้านความรู้-ความคิด (Cognitive Domain)
1. นักเรียนไม่สามารถตอบค าถามจากเรื่องที่เรียนได้

2. นักเรียนขาดความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเนื้อหาวิทยาศาสตร์

3. นักเรียนขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

ปัญหาด้านทักษะ/กระบวนการ (Psychomotor Domain)
1. นักเรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. นักเรียนใช้วัสดุอุปกรณ์ในการจัดกิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ไม่ได้

3. นักเรียนขาดทักษะการสื่อสารและการน าเสนอข้อมูล

4. นักเรียนขาดทักษะการวางแผนและการจัดการ
5. นักเรียนขาดทักษะการสังเกต และทักษะการวัดซึ่งเป็นพื้นฐานในการเรียน

-3-

ปัญหาด้านจิตพิสัย (Affective Domain)
1. นักเรียนไม่มีนิสัยใฝ่รู้ ใฝ่เรียนวิทยาศาสตร์
2. นักเรียนขาดความสนใจและกระตือรือร้นในการเรียน

3. นักเรียนขาดระเบียบวินัยในการเรียนวิทยาศาสตร์

8) การเลือกปัญหา
ผู้น ากลุ่ม PLC ได้เลือกปัญหาจากผลการวิเคราะห์ร่วมกัน โดยเลือกปัญหาที่ส าคัญที่สุดของกลุ่ม ได้แก่เป็น

ปัญหาที่เป็นพื้นฐาน สมาชิกส่วนใหญ่เลือก และกลุ่มมความเห็นว่าเป็นสาเหตุของปัญหาส่วนใหญ่ ดังนั้นจึงได้สรุป
เป็นปัญหาที่กลุ่มเลือก คือ

ผู้เรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 13 ทักษะ

ลงชื่อ..........................................ผู้บันทึก ลงชื่อ..........................................หัวหน้า/ผู้น าPLC

(นางพัทธิ์ธีรา พลอาษา) (นายยรรยง ปกป้อง)

ลงชื่อ ............................................ ผู้รับรอง

(นายสมเพศ คามใส)
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านดงเจริญ

-4-

Step 2 : Logbook

ครั้งที่ 2/2561 ชั่วโมง PLC ที่ 2

1) ประเด็น : มุ่งมั่นหาแนวทางแก้ไข
2) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

3) วันที่ 17 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2561 (15.30 น. – 16.30 น.) จ านวน 1 ชั่วโมง

4) สถานที่ ห้องอุ่นใจ (ห้องพกครู ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น) โรงเรียนบ้านดงเจริญ
5) สมาชิก PLC (Professional Learning Community) ประกอบด้วย

ล าดับที่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง / โรงเรียน บทบาท

1 รศ.ดร. มาลี ไชยเสนา รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ที่ปรึกษา
2 นายยรรยง ปกป้อง ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร ผู้น า PLC


3 นางบุญปลูก เสงี่ยมศกดิ์ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
4 นางนภัสวรรณ โรจนะ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
5 นายธงสิน พลโยธา ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
6 นายศักดิ์ดา เพียรชนะ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
7 นางพัทธิ์ธีรา พลอาษา ครูช านาญการ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก/ผู้บันทึก

6) ปัญหาที่กลุ่มเลือก

ผู้เรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 13 ทักษะ

7) แนวทางในการแก้ปัญหา

ผู้เสนอ แนวทางในการแก้ปัญหา

นายยรรยง ปกป้อง 1. จัดกิจกรรมโดยใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. จัดกิจกรรมโดยการปฏิบัติจริง เน้นการสอนแบบ Active Learning

3. เน้นการสอนแก้ปัญหาโดยใช้ Project Based Learning


นางบุญปลูก เสงี่ยมศกดิ์ 1. จัดกิจกรรมโดยใช้สื่อการสอนที่หลากหลาย
2. จัดกิจกรรมโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

3. จัดกิจกรรมโดยใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

-5-

ผู้เสนอ แนวทางในการแก้ปัญหา

นางนภัสวรรณ โรจนะ 1. จัดกิจกรรมโดยใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. จัดกิจกรรมโดยการปฏิบัติจริง เน้นการสอนแบบ Active Learning
3. จัดกิจกรรมโดยเน้นผู้เรียนเป็นส าคัญ

นายธงสิน พลโยธา 1. จัดกิจกรรมโดยใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2. จัดกิจกรรมโดยใช้สื่อการสอนที่หลากหลาย
นายศักดิ์ดา เพียรชนะ 1. จัดกิจกรรมโดยใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

2. จัดกิจกรรมโดยการปฏิบัติจริง เน้นการสอนแบบ Active Learning

นางพัทธิ์ธีรา พลอาษา 1. จัดกิจกรรมโดยใช้สื่อการสอนที่หลากหลายและทันสมัย
2. จัดกิจกรรมโดยใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

8) แนวทางในการแก้ปัญหาที่เลือก

สรุปเป็นกิจกรรมที่มีความสอดคล้องกับปัญหา และแนวทางการแก้ปัญหาได้ ดังนี้
8.1 ใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เป็นเครื่องมือในการจัดกิจกรรมที่เน้น
ผู้เรียนเป็นส าคัญ

8.2 ใช้สื่อการสอนที่หลากหลายและทันสมัย เพื่อส่งเสริมและบูรณาการในการจัดกิจกรรม
เพื่อฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

8.3 ใช้สื่อประเภทเกม และสรุปบทเรียน จากโปรแกรม 3D Album CS เพื่อส่งเสริมการ

สร้างความรู้ความเข้าใจ การสร้างองค์ความรู้ และเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิทยาศาสตร์

ลงชื่อ..........................................ผู้บันทึก ลงชื่อ..........................................หัวหน้า/ผู้น าPLC

(นางพัทธิ์ธีรา พลอาษา) (นายยรรยง ปกป้อง)

ลงชื่อ ............................................ ผู้รับรอง

(นายสมเพศ คามใส)
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านดงเจริญ

-6-

Step 3 : Logbook

ครั้งที่ 3/2561 ชั่วโมง PLC ที่ 3

1) ประเด็น : ออกแบบนวัตกรรมในทันใด

2) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3) ใช้เวลาว่างส่วนตัว ในชั่วโมงลดเวลาเรียน-เพิ่มเวลารู้ และวันเสาร์-อาทิตย์ จ านวน 20 ชั่วโมง

4) สถานที่ ที่พกบ้านเลขที่ 103 หมู่ 5 บ้านพรพูลสุข ต าบลดงเจริญ อ าเภอค าเขอนแก้ว จังหวัดยโสธร
ื่

5) สมาชิก PLC (Professional Learning Community) ประกอบด้วย

ล าดับที่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง / โรงเรียน บทบาท

1 รศ.ดร. มาลี ไชยเสนา รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ที่ปรึกษา

2 นายยรรยง ปกป้อง ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร ผู้น า PLC


3 นางบุญปลูก เสงี่ยมศกดิ์ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
4 นางนภัสวรรณ โรจนะ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก

5 นายธงสิน พลโยธา ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก

6 นายศักดิ์ดา เพียรชนะ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
7 นางพัทธิ์ธีรา พลอาษา ครูช านาญการ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก/ผู้บันทึก

(การวางแผนออกแบบและพัฒนานวัตกรรม ใช้ทักษะความสามารถของตนเอง (นายยรรยง ปกป้อง) ตลอดจนการ
สืบค้นข้อมูลต่างๆ จากเอกสาร งานวิจัยและเว็บไซด์ มีการปรึกษา ขอความคิดเห็นและให้ข้อมูลการท างานกับสมาชิกโดย

ใช้โทรศัพท์ ไลน์ เมื่อพบปะกันขณะปฏิบัติงาน และในช่วงเวลาบางโอกาส)

6) ปัญหาที่กลุ่มเลือก

ผู้เรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 13 ทักษะ

7) ทฤษฎี/หลักการในการเรียนรู้

สมาชิก PLC ศึกษาความรู้และอภิปรายทฤษฎี/หลักการ/เทคนิค ที่จะน ามาใช้ในการออกแบบ สร้างและ
พัฒนานวัตกรรม เพื่อแก้ปัญหาในประเด็นที่กลุ่มเลือก ดังนี้

-7-

7.1 แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์
7.2 การแก้ปัญหาแบบอุปนัยและแบบนิรนัย

7.3 กระบวนการสืบเสาะหาความรู้
7.4 วิธีสอนแบบทดลอง

7.5 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
7.6 ชุดฝึกทักษะและการสร้างชุดฝึกทักษะ


8) ก าหนดสื่อ/เครื่องมือ/นวตกรรม
ในการแก้ปัญหาครั้งนี้ ได้ก าหนดสื่อ/เครื่องมือ/นวัตกรรม เพื่อน ามาใช้ในออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้
เพื่อส่งเสริมและแก้ปัญหาตามจุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า ดังนี้
1. คู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

2. ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
3. ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

4. ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 3 เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
5. แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ลงชื่อ..........................................ผู้บันทึก ลงชื่อ..........................................หัวหน้า/ผู้น าPLC

(นายยรรยง ปกป้อง) (นายยรรยง ปกป้อง)

ลงชื่อ ............................................ ผู้รับรอง

(นายสมเพศ คามใส)
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านดงเจริญ

-8-

Step 4 : Logbook

ครั้งที่ 4/2561 ชั่วโมง PLC ที่ 4

1) ประเด็น : พัฒนาให้คุณภาพตรงประเด็น

2) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
3) ใช้เวลาว่างส่วนตัว ในชั่วโมงลดเวลาเรียน-เพิ่มเวลารู้ และวันเสาร์-อาทิตย์ จ านวน 20 ชั่วโมง


ื่
4) สถานที่ ที่พกบ้านเลขที่ 103 หมู่ 5 บ้านพรพูลสุข ต าบลดงเจริญ อ าเภอค าเขอนแก้ว จังหวัดยโสธร
5) สมาชิก PLC (Professional Learning Community) ประกอบด้วย

ล าดับที่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง / โรงเรียน บทบาท

1 รศ.ดร. มาลี ไชยเสนา รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ที่ปรึกษา

2 นายยรรยง ปกป้อง ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร ผู้น า PLC


3 นางบุญปลูก เสงี่ยมศกดิ์ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
4 นางนภัสวรรณ โรจนะ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก

5 นายธงสิน พลโยธา ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก

6 นายศักดิ์ดา เพียรชนะ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
7 นางพัทธิ์ธีรา พลอาษา ครูช านาญการ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก/ผู้บันทึก

6) ปัญหาที่กลุ่มเลือก

ผู้เรียนขาดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 13 ทักษะ

7) จุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า
7.1 เพื่อสร้างและพัฒนาคู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
7.2 เพื่อสร้างและพัฒนาชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องสมบัติของสารและการจ าแนก

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
7.3 เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ก่อนและหลังการจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ในคู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
8) การสร้างและพัฒนานวัตกรรม

8.1 วิธีด าเนินการสร้างคู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก

-9-

ื่
ข้าพเจ้าได้ด าเนินการสร้างคู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะ ที่เน้นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพอส่งเสริม ทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ ดังนี้

1. วิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนฐาน พทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โดย

ื้
การศึกษาโครงสร้าง อตราเวลาเรียน เนื้อหา สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ร่วมกับการวิเคราะห์ผู้เรียน สื่อและ

แหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ เพื่อน ามาใช้ในการวางแผนแก้ปัญหา

2. ศึกษาเอกสารหลักสูตร ได้แก่ การศึกษาคู่มือครู คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เอกสารการวัดผลประเมินผล
เพื่อน ามาใช้ในการออกแบบ และวางแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ที่ถูกต้องและเหมาะสมต่อไป

3. ศึกษาความหมาย ทฤษฎี หลักการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยการศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับความหมายทักษะ

กระบวนการคิด กระบวนการสอนให้เกิดความคดรวบยอด การแก้ปัญหาแบบอุปนัยและนิรนัย กระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้ วิธีสอนแบบทดลอง ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ค าถามเพอการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ทฤษฎี
ื่
พัฒนาการทางสติปัญญาของเพียเจต์ ทฤษฎีการสอนของบรูเนอร์ ทฤษฎีการสอนของแกนเย่ ทฤษฎีการเรียนรู้อย่าง
มีความหมายของออซูเบล ชุดฝึกทักษะและการสร้างชุดฝึกทักษะ

เพอน าผลการศึกษามาใช้ในการก าหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ของทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ส าหรับ
ื่

น าไปใช้ในการออกแบบกิจกรรมการฝึกทักษะในแผนการจัดการเรียนรู้ของคู่มอการใช้ชุดฝึกทักษะต่อไป
4. ออกแบบการจัดการเรียนรู้และเขียนแผนการจัดการเรียนรู้

ข้าพเจ้าได้วางแผนการส ารวจ จัดท า และจัดหาสื่อการเรียนรู้ เครื่องมือวัดและประเมินผลในกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 และจากการศึกษาความรู้ในข้อ 1-3 น ามาวิเคราะห์ และเขียนแผนการจัดการเรียนรู้

วิทยาศาสตร์ เพื่อแก้ปัญหาด้านทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ของเนื้อหาเรื่องสมบัติของสารและการจ าแนก ซึ่ง
เป็นเนื้อหาตามหลักสูตรใน ภาคเรียนที่ 1 โดยแบ่งเป็นแผนการจัดการเรียนรู้ได้ 20 แผน ตามสาระการเรียนรู้ ดังนี้

หน่วยที่ 2 : วัสดุและสมบัติของวัสดุ

แผนที่ 1 : สังเกตส ารวจสาร
- ทักษะการสังเกต
- สารอินทรีย์ และสารอนินทรีย์

- สมบัติของสารและสมบัติทางกายภาพของสาร

แผนที่ 2 : การวัดนั้นวิเคราะห์ถ้วน
- ทักษะการวัด
- สารและสมบัติของสาร
- สมบัติทางกายภาพและสมบัติทางเคมี

แผนที่ 3 : กายภาพหมั่นทบทวน
- สมบัติทางกายภาพของสาร

- สารเนื้อเดียว สารเนื้อผสม

-10-

- สถานะของสาร
- ทักษะการวัด


แผนที่ 4 : จ าแนกควรต้องใช้เกณฑ
- ทักษะการจ าแนกประเภท

- การจ าแนกสารโดยใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์
- การจ าแนกสารโดยใช้สถานะเป็นเกณฑ์

แผนที่ 5 : ฝึกสเปสและเตรียมสาร

- ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา
- สารละลาย

- การเตรียมสารละลาย

แผนที่ 6 : สื่อสารพลันเป็นจุดเด่น
- ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปสและสเปสกับเวลา

- ทักษะการจัดกระท าและสื่อความหมายข้อมูล
- สมบัติของสารละลาย

แผนที่ 7 : จัดกระท าทักษะเน้น
- ทักษะการจัดกระท าและสื่อความหมายข้อมูล

- สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม

- สารบริสุทธิ์ และสารละลาย
แผนที่ 8 : อ่านกราฟเป็นตามต้องการ

- ทักษะการจัดกระท าและสื่อความหมายข้อมูล

- สารเนื้อเดียว และสารเนื้อผสม
- สารบริสุทธิ์ และสารละลาย

แผนที่ 9 : สมบัติสารตรวจสอบ
- สมบัติของสารบริสุทธิ์ และสารละลาย

- สารแขวนลอย และคอลลอยด์
- ทักษะการทดลอง

แผนที่ 10 : คิดรอบคอบสมมติฐาน

- ทักษะการตั้งสมมติฐาน
- อินดิเคเตอร์

- ความเป็นกรดเบสของสารในชีวิตประจ าวัน

แผนที่ 11 : ควบคุมตัวแปรผ่าน
- ทักษะการก าหนดและควบคุมตัวแปร

-11-

- การท ากระดาษลิตมัส
- อินดิเคเตอร์ กรดและเบส

แผนที่ 12 : ตรวจสอบกันค่าพีเอช
- ความเป็นกรด-เบสของสารละลาย

- อินดิเคเตอร์ และการใช้อินดิเคเตอร์
- ค่า pH ของความเป็นกรด-เบสของสาร

แผนที่ 13 : กรดเบสมีคุณค่า

- สารละลายกรด-เบสในชีวิตประจ าวัน
- ประโยชน์ของสารละลายกรด-เบสในชีวิตประจ าวัน

แผนที่ 14 : แยกสารมาทดลองเห็น

- การแยกสารเนื้อเดียว
- การแยกสารเนื้อผสม

- การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
แผนที่ 15 : ใช้ในชีวิตเน้น

- ทักษะการตั้งสมมติฐาน
- น้ าอ่อนและน้ ากระด้าง

- การน าหลักการแยกสารไปใช้ในชีวิตประจ าวัน

แผนที่ 16 : ค านวณเด่นความเข้มสาร
- ทักษะการคิดค านวณ

- ความเข้มข้นของสารละลาย และหน่วยความเข้มข้น

แผนที่ 17 : ทดลองตีความหมาย

- ความเข้มข้นของสารละลาย
- ทักษะการทดลอง

- ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป
- ทักษะการคิดค านวณ

แผนที่ 18 : นิยามง่ายท าผลึกกัน
- ทักษะการก าหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ

- การทดลองเรื่อง การแยกสารโดยวิธีตกผลึก

แผนที่ 19 : ลงความคิดเห็นพลัน
- ประโยชน์ของสารละลายในชีวิตประจ าวัน

- ทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล

-12-

แผนที่ 20 : ฝึกมุ่งมั่นพยากรณ์
- ประโยชน์ของสารละลายในชีวิตประจ าวัน

- ทักษะการพยากรณ์
เขียนแผนการจัดการเรียนรู้ตามจุดประสงค์การเรียนรู้ (จุดประสงค์ย่อย) ที่ได้วิเคราะห์จากตัวชี้วัดให้มีความ

สอดคล้องของจุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียนรู้ การวัดและประเมินผล แล้วจัดท าเป็นรูปเล่ม โดยเรียงล าดับ
ขององค์ประกอบในแผนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ คือ ปกหน้า ค าน า สารบัญ ขั้นตอนการออกแบบการจัดการเรียนรู้

หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ค าอธิบาย

รายวิชา ว 31101 หน่วยการเรียนรู้ ผังมโนทัศน์ วิเคราะห์หลักสูตรโดยใช้รูปแบบ Backward Design วิเคราะห์หน่วย



การเรียนรู้ ความสัมพนธ์ของผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง แผนการจัดการเรียนรู้และอตราเวลาเรียน ความสัมพนธ์ ของ
แผนการจัดการเรียนรู้ และชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ แผนการจัดการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ หน่วยที่ 2
เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก บรรณานุกรม รายชื่อผู้เชี่ยวชาญ และภาคผนวก
5. หาคุณภาพในด้านความเที่ยงตรง (Validity) น าคู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะ ที่จัดท าขึ้นไปหาค่าดัชนีความ

สอดคล้อง ( IOC) โดยผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 ท่านพิจารณาความสอดคล้องขององค์ประกอบในคู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะ กับ
รายการประเมินในแบบประเมิน

6. น าคู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปทดลองใช้และเผยแพร่
ข้าพเจ้าได้น าคู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ไป ทดลองใช้กับโรงเรียน

ื่
ในกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ โรงเรียนบ้านค าม่วง โรงเรียนโซงเหล่าโป่วิทยา และโรงเรียนบ้านดงเจริญ เพอหาประสิทธิภาพ
ของนวัตกรรมและเผยแพร่ให้โรงเรียน ได้น าไปทดลองใช้แก้ปัญหาผู้เรียนต่อไป
8.2 วิธีด าเนินการสร้างชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องสมบัติของสารและการจ าแนก

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


ข้าพเจ้าได้สร้างและพฒนาชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพอใช้แก้ปัญหาผู้เรียน โดยใช้ควบคู่กับคู่มือ
ื่
การใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ซึ่งมีวิธีด าเนินการสร้างดังนี้
1. วิเคราะห์หลักสูตร
ื่
วิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัดและวิเคราะห์ผู้เรียน เพอให้เกิดความเข้าใจ มีความชัดเจนในกิจกรรม

การวัดและประเมินผลที่สอดคล้องและสัมพนธ์กัน อนจะเป็นประโยชน์ในการ ก าหนดเนื้อหา รูปแบบของกิจกรรมใน

ชุดฝึกทักษะ ตลอดจนวิธีการประเมินผลที่ถูกต้อง เหมาะสมของพฤติกรรมในชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
2. ศึกษาเอกสารหลักสูตร

ื่
ศึกษาคู่มือครู คู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เอกสารการวัดผลประเมินผล เพอน ามาใช้ในการออกแบบและ
วางแผนการจัดกิจกรรมในชุดฝึกทักษะที่ถูกต้องและเหมาะสม

3. ศึกษาความหมาย ทฤษฎี หลักการและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง


ศึกษาเนื้อหาเกี่ยวกับทักษะกระบวนการคิด กระบวนการสอนให้เกิดความคิดรวบยอด การแก้ปัญหาแบบอปนัย
และแบบนิรนัย กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ วิธีสอนแบบทดลอง การวัดและประเมินผลวิทยาศาสตร์ ทักษะ

-13-

ื่
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ค าถามเพอการสอนแบบสืบเสาะหาความรู้ ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของเพยเจต์

ทฤษฎีการสอนของบรูเนอร์ ทฤษฎีการสอนของแกนเย่ ทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความหมายของออซูเบล ความหมาย
ของชุดฝึกทักษะ ลักษณะของชุดฝึกที่ดี ขั้นตอนการสร้างชุดฝึก ข้อเสนอแนะในการสร้างชุดฝึก
ทักษะกระบวนการคิด และกระบวนการสอนให้เกิดความคิดรวบยอด

ื่
เพอน าผลการศึกษามาใช้ในการก าหนดนิยามเชิงปฏิบัติการของพฤติกรรมและทักษะที่ใช้ ในการสร้างนวัตกรรม
ได้แก่ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

4. ออกแบบและสร้างชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ก าหนดรูปแบบของชุดฝึกทักษะ และสร้างชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีรูปแบบ ลักษณะ

และองค์ประกอบ ดังนี้

4.1 ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 1 เรื่องสมบัติของสารและการจ าแนกประกอบด้วยชุดฝึก
ทักษะย่อย 22 ชุดฝึก คือ

ชุดฝึกที่ 1 : ใช้ประสาทสัมผัสในการสังเกต
ชุดฝึกที่ 2 : ทักษะการสังเกต

ชุดฝึกที่ 3 : ความเข้าใจในทักษะการสังเกต
ชุดฝึกที่ 4 : การใช้ทักษะการสังเกต

ชุดฝึกที่ 5 : สารและสมบัติของสาร

ชุดฝึกที่ 6 : ทักษะการวัด
ชุดฝึกที่ 7 : การใช้เครื่องมือวัด

ชุดฝึกที่ 8 : ความเข้าใจเกี่ยวกับการวัด

ชุดฝึกที่ 9 : สถานะของสาร
ชุดฝึกที่ 10 : สารเนื้อเดียวและสารเนื้อผสม

ชุดฝึกที่ 11 : ฝึกทักษะการวัด
ชุดฝึกที่ 12 : ทักษะการคิดค านวณ

ชุดฝึกที่ 13 : ค าถามให้คิดค านวณ
ชุดฝึกที่ 14 : ความเข้มข้นของสารละลาย

ชุดฝึกที่ 15 : ค านวณหาความเข้มข้น

ชุดฝึกที่ 16 : จัดกลุ่มสารตามเกณฑ์
ชุดฝึกที่ 17 : ทักษะการจ าแนกประเภท

ชุดฝึกที่ 18 : เกณฑ์ในการแบ่งกลุ่ม

ชุดฝึกที่ 19 : การจ าแนกสาร
ชุดฝึกที่ 20 : ทดลองแยกสารเนื้อผสม

-14-

ชุดฝึกที่ 21 : วิธีแยกสารเนื้อผสม
ชุดฝึกที่ 22 : วิธีแยกสารเนื้อเดียว

4.2 ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 2 เรื่องสมบัติของสารและการจ าแนก ประกอบด้วยชุดฝึก
ทักษะย่อย 21 ชุดฝึก คือ

ชุดฝึกที่ 1 : เตรียมสารละลาย
ชุดฝึกที่ 2 : สมบัติของสารละลาย

ชุดฝึกที่ 3 : ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกัสเปสและสเปสกับเวลา

ชุดฝึกที่ 4 : ความเข้าใจในทักษะนี้
ชุดฝึกที่ 5 : ทักษะนี้จะแสดงออกอย่างไร

ชุดฝึกที่ 6 : เขียนสื่อความจากภาพ

ชุดฝึกที่ 7 : น้ าเพื่อชีวิต
ชุดฝึกที่ 8 : ทักษะการจัดกระท าและสื่อความหมายข้อมูล

ชุดฝึกที่ 9 : มารู้จักทักษะนี้กันเถอะ
ชุดฝึกที่ 10 : จ าแนกทักษะการจัดกระท าและสื่อความหมายข้อมูล

ชุดฝึกที่ 11 : อ่านข้อมูลจากกราฟ

ชุดฝึกที่ 12 : น าเสนอขอมูลเป็น
ชุดฝึกที่ 13 : สารบริสุทธิ์และสารละลาย

ชุดฝึกที่ 14 : สารบริสุทธิ์
ชุดฝึกที่ 15 : สารแขวนลอยและคอลลอยด์


ชุดฝึกที่ 16 : ทักษะการลงความคิดเห็นจากขอมูล
ชุดฝึกที่ 17 : จ าแนกทักษะการลงความคิดเห็นจากข้อมูล
ชุดฝึกที่ 18 : สิ่งนี้คืออะไร

ชุดฝึกที่ 19 : ทักษะการพยากรณ์
ชุดฝึกที่ 20 : ชนิดของการพยากรณ์

ชุดฝึกที่ 21 : ท านายข้อมูลจากตาราง
4.2 ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เล่ม 3 เรื่องสมบัติของสารและการจ าแนก ประกอบด้วยชุดฝึก

ทักษะย่อย 21 ชุดฝึก คือ

ชุดฝึกที่ 1 : ท านายการเปลี่ยนแปลง
ชุดฝึกที่ 2 : ทักษะการตั้งสมมติฐาน

ชุดฝึกที่ 3 : ความเข้าใจในทักษะการตั้งสมมติฐาน

ชุดฝึกที่ 4 : อย่างไรคือการตั้งสมมติฐาน
ชุดฝึกที่ 5 : น้ าอ่อนและน้ ากระด้าง

-15-


ชุดฝึกที่ 6 : ท าผลึกกอนสวย
ชุดฝึกที่ 7 : ทักษะการก าหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ

ชุดฝึกที่ 8 : ลักษณะของนิยามเชิงปฏิบัติการ
ชุดฝึกที่ 9 : เขียนนิยามเชิงปฏิบัติการ

ชุดฝึกที่ 10 : ทักษะการก าหนดและควบคุมตัวแปร
ชุดฝึกที่ 11 : ตัวแปรในการทดลอง

ชุดฝึกที่ 12 : ท ากระดาษลิตมัส

ชุดฝึกที่ 13 : ทักษะการทดลอง
ชุดฝึกที่ 14 : การเปลี่ยนแปลงของสาร

ชุดฝึกที่ 15 : ทักษะการตีความหมายข้อมูลและลงข้อสรุป

ชุดฝึกที่ 16 : การลงข้อสรุป
ชุดฝึกที่ 17 : สมบัติของกรดและเบส

ชุดฝึกที่ 18 : จัดหมายล่องหน
ชุดฝึกที่ 19 : กรดและเบสในชีวิตประจ าวัน

ชุดฝึกที่ 20 : การตรวจสอบความเป็นกรดเบสของสาร
ชุดฝึกที่ 21 : สารปรุงรสอาหาร

ซึ่งชุดฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ ทั้ง 3 เล่ม ที่จัดท าขึ้นประกอบด้วยส่วนประกอบที่เหมือนกัน เรียงตามล าดับดับ คือ

ปกหน้า ค าน า สารบัญ ค าชี้แจงในการใช้ชุดฝึก ชุดฝึกทักษะย่อย (เล่ม 1 มี 22 ชุดฝึก เล่ม 2 มี 21 ชุดฝึก และ
เล่ม 3 มี 21 ชุดฝึก) บรรณานุกรม ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ ประวัติย่อของผู้จัดท า

5. หาคุณภาพในด้านความเที่ยงตรง (Validity) น าชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 3 เล่ม ที่ได้


จัดท าขึ้นไปหาค่าดัชนีความสอดคล้อง ( IOC) โดยให้ผู้เชี่ยวชาญจ านวน 5 ท่าน พจารณา ความสอดคล้องของ
องค์ประกอบในชุดฝึกทักษะ กับรายการประเมินในแบบประเมิน

6. หาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 1
ปรับปรุงชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 3 เล่ม ในด้านภาษา และลักษณะค าถาม แล้วน าไป

ทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง จ านวน 20 คน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านค าม่วง ภาคเรียนที่ 1 ปี

การศึกษา 2561
7. หาประสิทธิภาพของชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ครั้งที่ 2

ปรับปรุงชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง 3 เล่ม ในด้านภาษาและลักษณะค าถามแล้วน าไปทดลอง
กับกลุ่มตัวอย่าง จ านวน 20 คน ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนโซงเหล่าโป่วิทยา ภาคเรียนที่ 1 ปี

การศึกษา 2561
8. น าชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ และเผยแพร่

-16-


ปรับปรุงชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ โดยการตรวจสอบความถูกต้องของภาษา แล้วจัดพมพ ์
เป็นรูปเล่มให้มากพอ เพอน าไปทดลองใช้ในห้องเรียน เผยแพร่ให้แก่โรงเรียนต่างๆ ได้น าไปใช้ร่วมกับคู่มือการใช้
ื่
ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เรื่องสมบัติของสารและการจ าแนก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1


8.3 วธีด าเนินการสร้างแบบทดสอบวดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวทยาศาสตร์ เรื่อง สมบัติของสาร และการ


จ าแนก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการตรวจสอบสมมติฐานการวิจัย นั่นคือการหาประสิทธิภาพของคู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะ ชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่เน้นการฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ข้าพเจ้าได้ด าเนินการสร้างเครื่องมือได้แก่

แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ซึ่งมีวิธีด าเนินการ ดังนี้

1. ก าหนดจุดมุ่งหมายในการสร้างแบบทดสอบ
เพื่อให้แบบทดสอบมีความชัดเจนในสิ่งที่ต้องการวัด จึงได้ก าหนดจุดมุ่งหมาย ดังนี้

1.1 เพื่อสร้างแบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ฉบับที่ 1 ความเข้าใจ (แบบปรนัย เลือกตอบ 4 ตัวเลือก)

1.2 เพื่อสร้างแบบทดสอบวิชาวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
ฉบับที่ 2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (แบบปรนัยเลือกตอบ 4 ตัวเลือก)

2. วิเคราะห์หลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ช่วงชั้นที่ 3

ื่
ศึกษาเนื้อหาในหน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก ช่วงชั้นที่ 3 เพอจะน ามาใช้ในการ
สร้างแบบทดสอบ ตลอดจนการนิยามความหมายของความเข้าใจ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพอท าให้
ื่
แบบทดสอบมีความเที่ยงตรง ดังนี้

2.1 ความรู้ความเข้าใจ คือ ความสามารถในการแปลความ ตีความและขยายความใน
เนื้อหากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก ระดับ

ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
2.2 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ คือ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ทั้ง

13 ทักษะ ที่ใช้ในการแก้ปัญหากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่องสมบัติของ
สารและการจ าแนก ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

3. สร้างตารางวิเคราะห์ข้อสอบ (Table of Specification Tests)

ื่
ศึกษารูปแบบและโครงสร้างของเนื้อหา และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ในชุดฝึกทักษะ เพอท าการ
สุ่มจ านวนข้อ (Items) ของสมรรถภาพที่ต้องการวัด แล้วจึงค านวณสัดส่วนของจ านวนข้อสอบในแต่ละฉบับ ดังนี้

4. เขียนข้อสอบ

เขียนข้อสอบตามนิยามสมรรถภาพแต่ละด้าน โดยให้มีจ านวนข้อของแต่ละฉบับมาก เป็น 2 เท่าของจ านวนข้อ
ตามตารางการวิเคราะห์ข้อสอบ แล้วจัดท าเป็นรูปเล่มให้มากพอกับจ านวนนักเรียนในกลุ่มตัวอย่างที่จะน าไปทดลองเพอ
ื่
หาคุณภาพต่อไป
5. หาคุณภาพของข้อสอบรายข้อ

-17-

ื้
น าแบบทดสอบที่สร้างขึ้นไปทดลอง (Try Out) กับนักเรียนโรงเรียนบ้านค าม่วงส านักงานเขตพนที่
ื่
การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 จ านวน 20 คน เพอหาคุณภาพด้านความเป็นปรนัย (ความชัดเจนของข้อค าถาม)
โดยน าผลการสอบมาหาคุณภาพรายข้อ ได้แก่การหาค่าความยากง่าย ( p ) และค่าอ านาจจ าแนก ( r )
ปรับปรุงคุณภาพของข้อสอบฉบับที่ 1 และฉบับที่ 2 โดยการเลือกข้อสอบที่มีค่าอานาจจ าแนก ( r ) ตั้งแต่

0.2 ขึ้นไป และค่าความยากง่าย ( p ) ระหว่าง 0.2 - 0.8 เอาไว้ ซึ่งได้จ านวนแบบทดสอบในแต่ละฉบับ ตาม
ตารางวิเคราะห์ข้อสอบ คือฉบับที่ 1 จ านวน 20 ข้อ และฉบับที่ 2 จ านวน 30 ข้อ

จัดพิมพ์แบบทดสอบที่ได้คัดเลือกคุณภาพรายข้อแล้วเป็นรูปเล่ม ประกอบด้วยปกหน้า ค าชี้แจง แบบทดสอบ และ

ปกหลัง โดยให้มีจ านวนมากพอกับจ านวนนักเรียนกลุ่มตัวอย่างที่จะน าไปหาคุณภาพต่อไป
6. หาคุณภาพของข้อสอบทั้งฉบับ

น าแบบทดสอบที่ปรับปรุงแล้วจากข้อ 5 ไปทดลองกับกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนโรงเรียนโซงเหล่าโป่

วิทยา ส านักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายโสธร เขต 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จ านวน 20 คน เพอหา
ื่
คุณภาพของแบบทดสอบทั้งฉบับในด้านค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ได้ค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบ เท่ากับ 0.78

7. น าแบบทดสอบไปทดลองใช้และเผยแพร่
น าแบบทดสอบไปทดลองใช้ร่วมกับ คู่มือการใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และชุดฝึกทักษะ

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เพื่อตรวจสอบสมมติฐานการวิจัย และเผยแพร่ให้โรงเรียนอื่นได้น าไปใช้

ลงชื่อ..........................................ผู้บันทึก ลงชื่อ..........................................หัวหน้า/ผู้น าPLC

(นายยรรยง ปกป้อง) (นายยรรยง ปกป้อง)

ลงชื่อ ............................................ ผู้รับรอง

(นายสมเพศ คามใส)
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านดงเจริญ

-18-

Step 5 : Logbook

ครั้งที่ 5/2562 ชั่วโมง PLC ที่ 5

1) ประเด็น : น าไปใช้ลงสู่ปฏิบัติ

2) กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
3) ชั่วโมงวิทยาศาสตร์ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 จ านวน 20 ชั่วโมง

4) สถานที่ ห้องเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านดงเจริญ ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561
5) สมาชิก PLC (Professional Learning Community) ประกอบด้วย

ล าดับที่ ชื่อ - สกุล ต าแหน่ง / โรงเรียน บทบาท

1 รศ.ดร. มาลี ไชยเสนา รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี ที่ปรึกษา

2 นายยรรยง ปกป้อง ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร ผู้น า PLC
3 นางบุญปลูก เสงี่ยมศกดิ์ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก

4 นางนภัสวรรณ โรจนะ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
5 นายธงสิน พลโยธา ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก

6 นายศักดิ์ดา เพียรชนะ ครูช านาญการพิเศษ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก
7 นางพัทธิ์ธีรา พลอาษา ครูช านาญการ/บ้านดงเจริญ อ.ค าเขื่อนแก้ว จ.ยโสธร สมาชิก/ผู้บันทึก

6) นวัตกรรมในการแก้ปัญหา (Best Practice)

การพัฒนาชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ส าหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
เรื่อง สมบัติของสารและการจ าแนก

7) การน านวัตกรรมไปใช้

ข้าพเจ้าได้น านวัตกรรมที่สร้างและพฒนาขึ้น ไปทดลองใช้กับประชากรกลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้น

มัธยมศึกษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนบ้านดงเจริญ โดยใช้แบบแผนการทดลองแบบ Ono-

Group Pre-test Post-test Design มีขั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ
7.1 ทดสอบก่อนเรียน (Pre-test) โดยใช้ข้อสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สร้างขึ้น

7.2 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ (treatment) ตามแผนการจัดการเรียนรู้ (คู่มือการใช้นวัตกรรม)

7.3 ทดสอบก่อนเรียน (Post-test) โดยใช้ข้อสอบวัดทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ที่สร้างขึ้น
และมีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการน านวัตกรรมไปใช้ ได้แก ่

-19-

1) มีการนิเทศและสังเกตการณ์สอน โดยครูในโรงเรียนและผู้บริหารสถานศึกษา
2) ประชุมบุคลากรในโรงเรียน และสมาชิกกลุ่ม PLC เพื่อสะท้อนผลหลังกิจกรรม (After Action Review)

3) มีการแลกเปลี่ยนผ่านระบบ ICT (Professional Learning Network : PLN) ได้แก่ เสนอข้อมูลในรูปแบบ
- Line ส่งข้อความ รูปภาพ วีดีโอ หรือใบงานแก่นักเรียนและสมาชิก PLC

ื่
- Facebook ส่งข่าวสารข้อมูล ผลงานทางวิชาการ แก่สมาชิก PLC และกลุ่มเพอน
4) เขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน เรื่อง “ผลการใช้ชุดฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์
ทางการเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1”

ลงชื่อ..........................................ผู้บันทึก ลงชื่อ..........................................หัวหน้า/ผู้น าPLC

(นายยรรยง ปกป้อง) (นายยรรยง ปกป้อง)

ลงชื่อ ............................................ ผู้รับรอง

(นายสมเพศ คามใส)
ผู้อ านวยการโรงเรียนบ้านดงเจริญ

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก