คณะวิทยาศาสตร์ สาขาชีววิทยา มอ

  • รายละเอียด
  • คุณสมบัติ
  • แผนการศึกษา

หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ชื่อหลักสูตร
     ภาษาไทย:  วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา
     ภาษาอังกฤษ:  Bachelor of Science Program in Biology

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
     ชื่อเต็ม (ไทย):  วิทยาศาสตรบัณฑิต (ชีววิทยา)
     ชื่อย่อ (ไทย):  วท.บ. (ชีววิทยา)   
     ชื่อเต็ม (อังกฤษ):  Bachelor of Science (Biology)
     
ชื่อย่อ (อังกฤษ):  B.Sc. (Biology)

วิชาเอกของหลักสูตร/แขนงวิชา
     –

จุดเด่นของหลักสูตร     
     หลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาชีววิทยา เป็นหลักสูตรที่มุ่งเน้นให้นิสิตมีความรอบรู้ในศาสตร์เชิงชีววิทยาแบบบูรณาการ ทั้งในด้านสัตววิทยา พฤกษศาสตร์ พันธุศาสตร์

อาชีพที่ประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

  1. นักวิทยาศาสตร์ด้านชีววิทยา
  2. นักวิชาการด้านชีววิทยา
  3. นักวิจัย และผู้ช่วยวิจัยของภาครัฐหรือในสถานประกอบการ
  4. เจ้าหน้าที่ห้องปฏิบัติการทางชีววิทยา

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

     สำเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายโปรแกรมที่เน้นวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ หรือเทียบเท่าและ  มีคุณสมบัติอื่นๆ ตามประกาศของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

 วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา 


ชื่อหลักสูตร

ภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาชีววิทยา
ภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science Program in Biology

ชื่อปริญญาและสาขาวิชา

ชื่อเต็มภาษาไทย : วิทยาศาสตรบัณฑิต(ชีววิทยา)
ชื่อย่อภาษาไทย : วท.บ.(ชีววิทยา)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Bachelor of Science (Biology)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : B.Sc. (Biology)

ค่าธรรมเนียมการศึกษา

ค่าธรรมเนียมการศึกษาเหมาจ่าย ภาคการศึกษาละ 13,000 บาท

ความสำคัญ ปรัชญา และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร

มุ่งเน้นการผลิตบัณฑิตสาขาวิชาชีววิทยาท่ีมีคุณภาพ มีทักษะและเจตคติท่ีดีทางวิทยาศาสตร์ ตระหนักถึง ความสาคัญด้านความหลากหลายทางชีวภาพ สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมโดยใช้วัตถุดิบจาก ทรัพยากรท้องถิ่นผสมผสานกับภูมิปัญญาพื้นบ้าน ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณธรรม จริยธรรมใน วิชาชีพ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เพ่ือนาพาประเทศสู่การพัฒนาที่ยั่งยืนและทัดเทียมมาตรฐานสากล

อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา

1) นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย หรือผู้ช่วยวิจัย ในหน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือเอกชน 2) เป็นภัณฑรักษ์ในพิพิธภัณฑ์ 3) ผู้สอนในสถาบันการศึกษา 4) บุคลากรด้านการศึกษา 5) เจ้าหน้าที่ออกแบบและจัดทำสื่อทางวิทยาศาสตร์ นักเทคโนโลยีสารสนเทศ หรือผู้จัดทาสื่อสิ่งพิมพ์ และสื่อโทรทัศน์ 6) ประกอบอาชีพส่วนตัวโดยใช้ฐานความรู้ด้านชีววิทยา

จำนวนหน่วยกิตและโครงสร้างหลักสูตร

รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร(หมวดวิชาเฉพาะ,วิชาพื้นฐาน,วิชาบังคับ,วิชาเลือก)

รายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร(หมวดวิทยานิพนธ์และการค้นคว้าอิสระ)

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร(ประธาน)   ดร.สุทธนา ปลอดสมบูรณ์

  • การศึกษาความหลากหลายและโครงสร้างประชากรของแพลงก์ตอน
  • การเพาะเลี้ยงและพัฒนาระบบการแพลงก์ตอนพืชและสัตว์น้ำจืดเพื่อการใช้ประโยชน์

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร   ดร.ประเสริฐ ผางภูเขียว

ศึกษาการออกฤทธิ์ของสารต่อระบบประสาท ด้วยการศึกษาพฤติกรรมในปลาม้าลาย

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร   ผศ.ดร.วิโรจน์ เกษรบัว

การศึกษาสัณฐานวิทยาและกายวิภาคศาสตร์เพื่อใช้ระบุชนิดหรือการจัดจำแนกทางอนุกรมวิธานพืช ความหลากหลายทางชีวภาพและภูมิปัญญาการใช้ประโยชน์จากพืช

Previous Next

ข่าวประชาสัมพันธ์และกิจกรรม

คณาจารย์คณะวิทยาศาสตร์ มช. ได้รับการจัดอันดับอยู่ในกลุ่มนักวิทยาศาสตร์ชั้นนำระดับโลก “World’s Top 2% Scientists” ประจำปี 2022

ข่าวประกาศ

18 ตุลาคม 2565


Idol Zoo Senior Season1 Ep.4 พี่มอท

ข่าวประชาสัมพันธ์และกิจกรรม

5 ตุลาคม 2565


Idol Zoo Senior Season1 Ep.3 พี่ดาว

ข่าวประชาสัมพันธ์และกิจกรรม

28 กันยายน 2565


นักชีววิทยา คณะวิทย์ มช. พบ 2 new family, 5 new genus, 26 new species จากตัวอย่างฟอสซิลของรา 39 families ที่เก็บได้จาก 5 ประเทศ โดยอาศัยอนุกรมวิธานสมัยใหม่

ข่าวประกาศ

27 กันยายน 2565


Idol Zoo Senior Season1 Ep.2 พี่ราม

ข่าวประชาสัมพันธ์และกิจกรรม

22 กันยายน 2565


งานสัมมนาเชิงปฏิบัติการ การยกระดับการเลี้ยงผึ้งของเกษตรกรผู้เลี้ยงผึ้งในภูมิภาคแม่โขง-ล้านช้างครบวงจร

ข่าวประชาสัมพันธ์และกิจกรรม

22 กันยายน 2565


หลักสูตรและช่องทางการรับเข้าศึกษา


  หลักสูตรปริญญาตรี


  หลักสูตรปริญญาโท


  หลักสูตรปริญญาเอก


   ช่องทางการสมัครเข้าศึกษา

ประชาสัมพันธ์สำหรับนักศึกษา

ภาควิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
Department of Biology, Faculty of Science, Chiang Mai University
Tel. +6653-943315-6 

email:

f
FACEBOOK : BiologyCMU


เว็บไซต์เดิม

Copyrights © Since 2022 All Rights Reserved by Department of Biology, Faculty of Science, Chiang Mai University

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก