แบบฝึกหัด หน่วย ที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เฉลย

1. �Է����ʵ�� ���¶֧����

�. ����������ʴ����;��٨������Ҷ١��ͧ�繤�����ԧ
�. �����������ҡ����ѧࡵ��Ф鹤��Ҩ�������ѡ�ҹ����˵ؼ�
�. �����������ҡ����֡�һ�ҡ���ó�����ҵ� ���觾��٨������Ҷ١��ͧ���ǨѴ���������º������Ǵ����
�. �١�ء���

2. ���㴡���Ƕ١��ͧ����ǡѺ� � ����ѧࡵ� ��õ�駻ѭ�Ҡ ��õ������԰ҹ� ��÷��ͧ� ��С����ػ�Ŕ

�.�Ըա�÷ҧ�Է����ʵ��
�. �ѡ�С�кǹ��÷ҧ�Է����ʵ��
�. ਵ��Էҧ�Է����ʵ��
�. ����բ��㴶١

3.��кǹ��÷ҧ�Է����ʵ���鹵͹㴷��й���������ػ����С���֡�ҵ���

�. ����Ǻ���������
�. ��õ������԰ҹ��С���͡Ẻ��÷��ͧ
�. ����ѧࡵ
�. ����Ҥ�������ѹ��ͧ����稨�ԧ

4. �������������ҷ�����ʷ�� 5

�. �٠ ��١
�. ��ǡ�  ��
�. �ҡ� ��
�. �٠ ���

5. ����������鹵͹�ͧ� � ��кǹ��÷ҧ�Է����ʵ��

�. �����ѭ��
�. ��õ������԰ҹ
�. ��÷��ͧ
�. �����ػ����Ť�������

6. ����������Է����ʵ��

�. �š⤨��ͺ�ǧ�ҷԵ��
�. ����Դ�ҡ��ҫ����ਹ����͡��ਹ�����ǡѹ
�. ������硢������ǡѹ�Դ�ç��ѡ�ѹ
�. ���Ӵ� ������Ǩ��������ä�

7. ����԰ҹ�ҧ�Է����ʵ�������¹�繷�ɮ���������

� . ���ͺ�����繨�ԧ�ء����
�. �繷������Ѻ�·����
�. ������ͧ��;��٨��
�. ͸Ժ������ҧ��ҧ

8. ����ѧࡵ�ͧ�ѡ�Է����ʵ�������Դ�������ѹ�Ѻ�á

�. ����԰ҹ
�. ��÷��ͧ
�. �ѭ��
�. ��

9. 㹡�кǹ��÷ҧ�Է����ʵ�� ����ҡ�š�÷��ͧ�����ҡ��÷��ͺ����԰ҹ ����ʹ���ͧ�Ѻ����԰ҹ�е�ͧ�����ҧ��

�. �ѧࡵ����
�. �͡Ẻ��÷��ͧ����
�. ��駻ѭ������
�. ����¹����԰ҹ

10. ����������س�ѡɳТͧ�ؤ�ŷ����ਵ��Էҧ�Է����ʵ��

�. �繤����˵ؼ�
�. �繤���ҧ�ѧࡵ
�. �繤���ҡ�����ҡ���
�. �繤������´�ͺ�ͺ

��ṹ���س����= ��ṹ �ҡ��ṹ��� 10 ��ṹ
��¤ӵͺ :

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตร์เพอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ

คานา

เอกสารประกอบการเรียนฉบับนี้ จัดทาขึ้นเพื่อใช้เปน็ เอกสารสาหรับผู้เรียนดาเนนิ การ
ร่วมกันในการเรียนการสอน วิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต รหัส 2000-1301 ตาม
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ของสานักงานคณะกรรมการการ
อาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

การจัดทาเอกสารประกอบการเรยี นวิชาวิทยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทกั ษะชีวิต รหัส 2000-
1301 ได้ยึดแนวทางปฏิบัติในการดาเนินงานท้ังรูปแบบและเน้ือหารายวิชา จากงานพัฒนา
หลักสูตรและการสอน วิทยาลัยเทคนิคระยอง ซึ่งจะครอบคลุมจุดประสงค์รายวิชา มาตรฐาน
รายวิชาและมีเนื้อหาสอดคล้องกับคาอธิบายรายวิชา ตามกาหนดในหลักสูตร โดยแบ่งเนื้อหา
ออกเป็น 11 หน่วยการเรียนรู้ ซึ่งประกอบดว้ ย กระบวนการวทิ ยาศาสตร์ หน่วยและการวัด แรง
และการเคลอ่ื นที่ ไฟฟ้าในชีวติ ประจาวัน โครงสรา้ งอะตอมและตารางธาตุ พันธะเคมี สารและ
การเปล่ียนแปลง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจาวัน นาโนเทคโนโลยี การรักษาดุลยภาพของ
ส่งิ มชี ีวิต และระบบนิเวศ

เอกสารประกอบการเรียนเล่มนี้แต่ละหน่วยประกอบด้วย หัวข้อเร่ืองท่ีจะศึกษา
สาระสาคัญ วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม แบบทดสอบก่อนเรยี น เน้ือหาสาระ กิจกรรมการศึกษา
ค้นคว้า การทดลอง และแบบทดสอบหลังเรียน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาทักษะ
กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ และสามารถนาไปใช้ประโยชนใ์ นชีวิตประจาวันและวิชาชพี ตอ่ ไป

ผู้จัดทาหวังวา่ เอกสารประกอบการเรยี นฉบับนี้ จะเป็นประโยชนส์ าหรบั ผู้เรียน ใช้เปน็
คู่มือในการเรียนการสอนรายวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชีวิต รหัส 2000-1301 หากมี
ข้อแนะนาทเี่ ปน็ ประโยชนต์ ่อการปรับปรุงเอกสารเล่มนี้กรณุ าแจง้ ตอ่ ผู้จัดทา จักเป็นพระคณุ ย่ิง

สุดท้ายนี้ ผู้จัดทาขอขอบพระคุณทุกท่านท่ีให้ความช่วยเหลือ แนะนา เพ่ือให้เอกสาร
ประกอบการเรยี นฉบับน้ีเสร็จสิ้นดว้ ยดี

อญั ชนา งาเจือ

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 2

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทักษะชีวิต

สารบญั หนา้

คานา ข
สารบัญ ค
สารบญั ภาพ ง
สารบัญตาราง จ
คาชแ้ี จง ฉ
ลักษณะรายวชิ า ช
สมรรถนะประจาหน่วยการเรียนรู้ ซ
ตารางจดั การเรียนรู้ ฌ
ตารางวเิ คราะหห์ นว่ ยการเรียนรู้ 1
หวั ข้อเรื่องทจ่ี ะศกึ ษา 2
สาระสาคญั 3
จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม 4
แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 8
กระดาษคาตอบ หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (แบบทดสอบกอ่ นเรียน) 9
หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 10
10
1.1 ความหมายของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 11
1.1.1 ความหมายของวิทยาศาสตร์ 11
1.1.2 ความหมายของเทคโนโลยี 11
12
1.2 วิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ 12
1.2.1 ความรูท้ างวิทยาศาสตร์ 13
1.2.2 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 13
1.2.3 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 14
15
1.3 เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์
1.3.1 เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์
1.3.2 คุณลักษณะของบคุ คลทม่ี ีเจตคติทางวิทยาศาสตร์

1.4 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์

หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ

สารบญั (ต่อ) หน้า
15
1.4.1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ้นั พ้นื ฐาน 25
ใบกิจกรรมท่ี 1.1 ทกั ษะขน้ั พนื้ ฐาน 26
ใบกจิ กรรมที่ 1.2 ทักษะการจดั จาแนกประเภท 29
34
1.4.2 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ั้นบรู ณาการ 35
ใบกจิ กรรมท่ี 1.3 ทกั ษะการกาหนดและควบคุมตวั แปร 36
ใบกจิ กรรมที่ 1.4 ทักษะการต้งั สมมติฐาน 36
36
1.5 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 37
1.5.1 ความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 40
1.5.2 จดุ มงุ่ หมายของการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 45
1.5.3 ประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 46
1.5.4 ข้ันตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ 51
ใบกิจกรรมท่ี 1.5 ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์ 54
ใบกจิ กรรมที่ 1.6 การทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 55
56
แบบทดสอบหลงั เรียน 57
กระดาษคาตอบ หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (แบบทดสอบหลงั เรยี น) 58
แบบบันทึกผลการประเมิน หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 59
บรรณานกุ รม 60
ภาคผนวก 62
63
เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น 64
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 1.1 ทักษะขน้ั พื้นฐาน 65
เฉลยใบกจิ กรรมที่ 1.2 ทักษะการจดั จาแนกประเภท 66
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 1.3 ทกั ษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.4 ทักษะการตัง้ สมมตฐิ าน 4
เฉลยใบกิจกรรมท่ี 1.5 ประเภทโครงงานวิทยาศาสตร์
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1.6 การทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์
ใบตรวจงาน การทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์

หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาทกั ษะชวี ติ

สารบญั (ตอ่ )

แบบฟอรม์ การให้คะแนน หน้า
แบบประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 67
แบบประเมินสมรรถนะสาคญั ของนกั เรยี น สาหรับนักเรยี นประเมนิ ตนเอง 68
แบบประเมนิ คา่ นยิ มพ้นื ฐาน 12 ประการ 70
แบบประเมนิ จติ วทิ ยาศาสตร์และเจตคติเชิงวทิ ยาศาสตร์ 72
76

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื พัฒนาทักษะชวี ิต

สารบญั ภาพ หนา้
7
ภาพที่ 7
1.1 แสดงภาชนะตา่ ง ๆทท่ี าจากพลาสตกิ 15
1.2 แสดงการเพาะเลี้ยงเนอื้ เยือ่ เพอ่ื ขยายพนั ธ์พุ ืช 15
1.3 การสงั เกตโดยการสมั ผสั 15
1.4 การสงั เกตโดยการสมั ผัสทางผิวกาย 16
1.5 การสงั เกตนา้ ขึ้น นา้ ลง 16
1.6 การเกดิ ปฏกิ ิริยาเคมขี องสาร 16
1.7 แสดงการวดั โดยใชไ้ มบ้ รรทดั 17
1.8 แสดงการวัดโดยใช้เวอร์เนีย 17
1.9 แสดงการจาแนกชน้ั เดยี ว 17
1.10 แสดงการจาแนกสองช้ัน 19
1.11 แสดงการจาแนกหลายช้ัน 24
1.12 การสอื่ ความหมายขอ้ มลู โดยใชว้ งจรชวี ิต เชน่ วงจรชวี ติ ยงุ ลาย
1.13 แสดงการออกแบบการทดลอง

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 6

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตร์เพือ่ พฒั นาทักษะชวี ติ

สารบัญตาราง หน้า
16
ตารางท่ี 17
1.1 แสดงตวั อยา่ งขอ้ มลู การสงั เกตเชงิ ปรมิ าณ 23
1.2 แสดงตัวอยา่ งขอ้ มลู การสงั เกตเชงิ คุณภาพ 30
1.3 แสดงตัวอย่างข้อมลู การสงั เกตและการลงความเห็นจากข้อมลู 33
1.4 แสดงขอ้ มลู การเปรยี บเทยี บการตงั้ สมมติฐานกบั การพยากรณ์
1.5 แสดงตัวอย่างขอ้ มลู ความสงู ของตน้ พริกทเ่ี พาะเมลด็ 47
1.6 แสดงแผนปฏบิ ัตกิ ารการจดั ทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ภาคเรยี นท่ี 1
ปีการศึกษา 2559

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 7

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาทกั ษะชีวติ

คาช้ีแจง

เอกสารประกอบการเรียน วิชาวทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ิต รหสั 2000-1301 ชดุ นี้
จัดทาขึน้ เพ่ือใหน้ กั เรยี นใช้ประกอบการเรียน วิชาวทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ พัฒนาทกั ษะชวี ิต โดยแบง่
เนื้อหาออกเป็น 11 หนว่ ย ได้แก่

หนว่ ยที่ 1 เรอ่ื ง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
หนว่ ยที่ 2 เรือ่ ง หน่วยและการวดั
หนว่ ยท่ี 3 เรื่อง แรงและการเคลื่อนที่
หนว่ ยท่ี 4 เรื่อง ไฟฟ้าในชวี ิตประจาวัน
หนว่ ยท่ี 5 เรอ่ื ง โครงสรา้ งอะตอมและตารางธาตุ
หน่วยที่ 6 เร่ือง พนั ธะเคมี
หนว่ ยท่ี 7 เรื่อง สารและการเปล่ียนแปลง
หนว่ ยท่ี 8 เรื่อง ปฏกิ ริ ิยาเคมีในชีวิตประจาวนั
หน่วยท่ี 9 เรือ่ ง นาโนเทคโนโลยี
หนว่ ยท่ี 10 เร่ือง การรักษาดลุ ยภาพของส่งิ มชี ีวติ
หน่วยท่ี 11 เรอื่ ง ระบบนิเวศ
กอ่ นทนี่ ักเรยี นจะศกึ ษาเอกสารประกอบการเรยี นเล่มนี้ นักเรียนควรทาความเขา้ ใจ
เก่ยี วกบั ขั้นตอนการใชเ้ อกสารประกอบการเรียน เพือ่ ทจี่ ะได้ปฏิบัติไดอ้ ยา่ งถูกต้องและเกดิ
ประโยชน์ตามจดุ มงุ่ หมายของแต่ละบท โดยขอให้นกั เรียนปฏิบัตติ ามคาแนะนาตอ่ ไปน้ี

หนว่ ยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 8

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พ่อื พฒั นาทักษะชีวติ

คาชแี้ จง (ตอ่ )

1. นักเรยี นควรศึกษาหัวขอ้ เรอื่ งทจ่ี ะศกึ ษา สาระสาคัญ จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ก่อน
ลงมอื ทาแบบทดสอบกอ่ นเรียน

2. ให้นักเรียนศึกษาหาความรจู้ ากเอกสารประกอบการเรียนแตล่ ะตอนตามลาดบั
ตง้ั แตต่ ้นจนจบใหเ้ ข้าใจ

3. เมอ่ื เกิดปญั หาไมเ่ ขา้ ใจ นักเรยี นสามารถสอบถามครผู สู้ อนได้
4. นักเรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรม แลว้ บันทกึ ลงในสมดุ ของนกั เรยี น และสามารถตรวจสอบ
ผลการปฏบิ ัติกิจกรรมได้ท่ที ้ายเอกสารประกอบการเรียน
5. หลงั ศกึ ษาเนื้อหาและปฏิบัตกิ จิ กรรมแตล่ ะตอนจบแล้วใหน้ กั เรยี นทาแบบทดสอบ
หลงั เรยี น เพ่ือทดสอบความรู้ ความเข้าใจ
6. นกั เรยี นสามารถตรวจสอบผลการทดสอบก่อนและหลงั เรียน ไดจ้ ากเฉลยทอี่ ยทู่ า้ ย
เลม่ แล้วเปรียบเทียบการเรียนร้กู ่อนและหลังเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียน หากนกั เรยี น
ยังไม่เขา้ ใจใหก้ ลับไปทบทวนใหม่
7. ขอ้ สาคญั นกั เรียนต้องซอื่ สัตย์ตอ่ ตนเอง ไมเ่ ปดิ ดเู ฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี น
เฉลยแบบทดสอบหลงั เรยี น เฉลยกจิ กรรมก่อนทาเด็ดขาด และห้ามลอกเพอ่ื น เพราะนกั เรียน
จะไมป่ ระสบความสาเรจ็ ในการเรียนด้วยเอกสารประกอบการเรียน
8. ถ้านักเรียนและผทู้ ส่ี นใจศึกษาทุกท่านตอ้ งการขอ้ มลู หรอื เนอื้ หาเพม่ิ เติมจาก
เอกสารประกอบการเรียนทง้ั 11 เลม่ น้ี สามารถคน้ ควา้ เพม่ิ เติม ไดใ้ นหนังสอื เรียน หรอื เวบ็ ไซต์
ทปี่ รากฏในบรรณานกุ รมทา้ ยเอกสารประกอบการเรียน

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 9

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชวี ติ

ลกั ษณะรายวิชา

ช่อื วชิ า วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทกั ษะชวี ติ รหสั วิชา 2000-1301

จานวน 2 หน่วยกติ 3 ชว่ั โมง/สัปดาห์ หลกั สตู รประกาศนียบัตรวิชาชีพ

เวลาเรียนตอ่ ภาค 54 ช่วั โมง

………….…………………………………………………………………………………………………………………………………

จุดประสงค์รายวชิ า

1. เพื่อให้เข้าใจเก่ียวกับ หน่วยและการวัด แรงและการเคลือ่ นที่ ไฟฟ้า อะตอมและธาตุ สาร
และปฏิกิรยิ าเคมี การรกั ษาดุลยภาพของส่งิ มีชวี ติ และระบบนิเวศ

2. มีทักษะเกี่ยวกับ การใช้เครื่องมือวัด ปริมาณทางฟิสิกส์ การทดลองแหล่งกาเนิดไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้า การคานวณค่าไฟฟา้ การทดลองปฏกิ ริ ิยาเคมีในชวี ิตประจาวันและงานอาชพี

3. เพอ่ื ใหม้ เี จตคตทิ ่ีดีต่อวชิ าวิทยาศาสตร์ และกจิ นิสัยทีด่ ใี นการทางาน

สมรรถนะรายวชิ า

1. แสดงความรแู้ ละปฏิบตั เิ กี่ยวกับปรมิ าณทางฟิสิกส์ แรงและการเคลอ่ื นท่ี

2. แสดงความร้แู ละปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับไฟฟ้าในชีวติ ประจาวัน

3. แสดงความรแู้ ละปฏบิ ตั ิเกยี่ วกบั สารเคมแี ละการเปล่ยี นแปลงทางเคมี

4. แสดงความรแู้ ละปฏบิ ัติเกี่ยวกบั สงิ่ มชี วี ิตและระบบนเิ วศ

5. แสดงความรู้เกีย่ วกบั นาโนเทคโนโลยี

คาอธบิ ายรายวิชา

ศึกษาและปฏิบัติเก่ียวกบั ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หน่วยและการวัด แรงและการ
เคลอ่ื นท่ี ไฟฟา้ ในชีวติ ประจาวัน โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ พันธะเคมี สารและการเปลี่ยนแปลง
ปฏกิ ริ ิยาเคมใี นชวี ติ ประจาวัน การรกั ษาดลุ ยภาพของสิง่ มชี วี ิต และระบบนิเวศ

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 10

เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พือ่ พัฒนาทกั ษะชวี ิต

สมรรถนะประจาหนว่ ยการเรยี นรู้

ชอื่ วชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทกั ษะชวี ติ รหสั วิชา 2000-1301

จานวน 2 หน่วยกิต 3 ช่วั โมง/สัปดาห์ หลักสตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพ

หน่วยที่ ชื่อหนว่ ยการเรยี นรู้ สมรรถนะประจาหน่วยการเรยี นรู้ ชั่วโมง

1 ทกั ษะกระบวนการทาง แสดงความรแู้ ละปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับทักษะ 6
วิทยาศาสตร์ กระบวนการทางวิทยาศาสตรแ์ ละเลอื กทา
โครงงานวิทยาศาสตร์

2 หน่วยและการวดั แสดงความรแู้ ละปฏิบตั เิ ก่ยี วกับกระบวนการ 3
วัดของวทิ ยาศาสตร์ มาตรฐานการจดบนั ทกึ
การแปลความหมายของขอ้ มลู และเลข
นัยสาคัญ

3 แรงและการเคล่อื นท่ี แสดงความรแู้ ละปฏิบตั เิ กี่ยวกับแรงและการ 6
เคลอื่ นที่

4 ไฟฟา้ ในชวี ิตประจาวัน แสดงความรู้และปฏิบตั เิ ก่ียวกับไฟฟา้ ไปใช้ 6
ในชีวติ ประจาวัน

5 โครงสร้างอะตอมและตาราง แสดงความรู้และปฏบิ ตั เิ กีย่ วกบั โครงสร้าง 6
ธาตุ อะตอมและตารางธาตุ นาไปส่กู ารแยก
ประเภทของสาร

6 พันธะเคมี แสดงความรแู้ ละปฏบิ ตั เิ ก่ยี วกับพันธะเคมี 6

7 สารและการเปลยี่ นแปลง แสดงความรู้และปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับสาร สมบตั ิ 3
ของสารและการเปลี่ยนแปลง

8 ปฏกิ ริ ิยาเคมใี นชีวิตประจาวนั แสดงความรูแ้ ละปฏิบัตเิ กย่ี วกบั ปฏิกริ ิยาเคมี 3

9 นาโนเทคโนโลยี แสดงความรเู้ ก่ยี วกับนาโนเทคโนโลยี 3

10 การรกั ษาดุลยภาพของ แสดงความรแู้ ละปฏิบัตเิ กี่ยวกับการรกั ษา 3
สง่ิ มชี วี ติ ดุลยภาพของสง่ิ มชี ีวิต

11 ระบบนิเวศ แสดงความรู้และปฏบิ ตั เิ กี่ยวกับระบบนเิ วศ 3

รวม 54

หนว่ ยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 11

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื พัฒนาทักษะชวี ติ

ตารางจดั การเรยี นรู้

ชอื่ วชิ า วทิ ยาศาสตร์เพอื่ พัฒนาทักษะชวี ติ รหัสวิชา 2000 - 1301 จานวน 2 หน่วยกิต
3 ชัว่ โมง/สปั ดาห์

สปั ดาหท์ ่ี หน่วยที่ เรอ่ื ง เวลาท่ีใช้ (ชม.)
1 - ปฐมนิเทศและสอบกอ่ นเรียน 3
2 1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3
3 1 ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3
4 2 หน่วยและการวดั 3
5 3 แรงและการเคลือ่ นท่ี 3
6 3 แรงและการเคลอ่ื นท่ี 3
7 4 ไฟฟ้าในชีวติ ประจาวนั 3
8 4 ไฟฟ้าในชวี ิตประจาวัน 3
9 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ 3
10 5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ 3
11 6 พนั ธะเคมี 3
12 6 พันธะเคมี 3
13 7 สารและการเปลย่ี นแปลง 3
14 8 ปฏกิ ิริยาเคมใี นชวี ิตประจาวนั 3
15 9 นาโนเทคโนโลยี 3
16 10 การรกั ษาดลุ ยภาพของสง่ิ มีชวี ิต 3
17 11 ระบบนิเวศ 3
18 - สอบหลงั เรยี นและซ่อมเสรมิ 3

รวม 54

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 12

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทักษะชวี ติ

ตารางวเิ คราะห์หนว่ ยการเรียนรู้

ชื่อวิชา วทิ ยาศาสตร์เพอ่ื พัฒนาทักษะชีวิต รหัสวชิ า 2000-1301

จานวน 2 หน่วยกติ 3 ช่ัวโมง/สัปดาห์ หลักสูตรประกาศนียบตั รวชิ าชพี

หนว่ ยการ รายละเอยี ดของเน้อื หา จานวนชั่วโมง
ทฤษฎี ปฏิบัติ รวม
เรียนรทู้ ี่
2 46
1 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1 23
2 46
2 หน่วยและการวดั 2 46
2 46
3 แรงและการเคลื่อนท่ี 2 46
1 23
4 ไฟฟา้ ในชวี ิตประจาวนั 1 23
1 23
5 โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ 1 23
1 23
6 พันธะเคมี

7 สารและการเปลีย่ นแปลง

8 ปฏกิ ิริยาเคมใี นชีวติ ประจาวนั

9 นาโนเทคโนโลยี

10 การรกั ษาดุลยภาพของส่ิงมชี ีวติ

11 ระบบนเิ วศ

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 13

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาทักษะชวี ิต

หน่วยที่ 1

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

หัวขอ้ เรือ่ งทีจ่ ะศึกษา

กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์
1.1 ความหมายของวทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี
1.2 วธิ ที างวทิ ยาศาสตร์
1.3 เจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์
1.4 ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
1.5 โครงงานวทิ ยาศาสตร์

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 14

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พอ่ื พัฒนาทกั ษะชวี ติ

สาระสาคญั

วทิ ยาศาสตร์ (Sciences) หมายถงึ ความรู้ทไ่ี ดม้ าจากการศกึ ษาปรากฏการณ์
ธรรมชาตซิ ่งึ สามารถแสดงหรอื พสิ จู น์ไดว้ ่าถกู ตอ้ งและเปน็ ความจรงิ โดยใช้กระบวนการ
แสวงหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ แลว้ จัดความรนู้ ้ันเข้าเป็นระเบียบ เป็นหมวดหมู่ ”

เทคโนโลยี (Technology) หมายถึง การนาความรู้ด้านวทิ ยาศาสตรใ์ นสาขาตา่ งๆ
นามาใชป้ ระโยชน์โดยการประยกุ ต์ความรทู้ ีไ่ ดใ้ นการสร้างเครอ่ื งมอื เครือ่ งใช้ เพอ่ื อานวยความ
สะดวกสบายหรือเพ่ือเป็นแนวทางในการศึกษาในทางวิทยาศาสตรข์ น้ั ตอ่ ไป

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Process of Science) เป็นกระบวนการแสวงหา
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงประกอบด้วย วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ และจิตวิทยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์เป็นวิธีการที่นักวิจัยและ
นักวทิ ยาศาสตรใ์ ช้เปน็ แนวทางในการศกึ ษาหรอื แก้ปัญหาเรอื่ งใดเรื่องหนง่ึ อยา่ งมลี าดบั ขนั้ ตอน
ซ่ึงประกอบดว้ ย 5 ขน้ั ตอน คือ การระบุปญั หา การตง้ั สมมติฐาน การทดลอง การวิเคราะห์
ขอ้ มูล และการสรปุ ผลการทดลอง สว่ นทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์เป็นทกั ษะสาคัญใน
กระบวนการศึกษาหาความรู้หรือค้นหาคาตอบของปัญหาทางวิทยาศาสตร์ แบ่งออกเป็น
ทักษะข้ันพ้ืนฐาน 8 ทักษะ ทักษะข้ันบูรณาการ 5 ทักษะ การฝึกทักษะกระบวนการทาง
วทิ ยาศาสตร์ใหเ้ กดิ ความชานาญ จะทาให้สามารถศึกษาปญั หาต่างๆเพอื่ ค้นหาคาตอบได้อย่าง
มีเหตุผล เช่น การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ มีอยู่ 4 ประเภท ได้แก่ โครงงานประเภททดลอง
โครงงานประเภทสงิ่ ประดิษฐ์ โครงงานประเภทสารวจ และโครงงานประเภททฤษฎี การทา
โครงงานประเภทต่าง ๆให้ประสบความสาเรจ็ น้ันผ้เู รียนตอ้ งใช้วิธีทางวิทยาศาสตร์และทกั ษะ
กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ นอกจากน้ยี ังตอ้ งเป็นบคุ คลที่มจี ิตวิทยาศาสตร์ มคี วามสนใจใฝ่รู้
เชอ่ื ในสง่ิ ท่ีมเี หตผุ ล ละเอยี ดรอบคอบ มคี วามขยนั อดทน ซ่ือสัตย์ และทางานรว่ มกับผู้อน่ื ได้

หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 15

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาทักษะชีวติ

จุดประสงคเ์ ชงิ พฤตกิ รรม

1. บอกความหมายของวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยไี ดถ้ กู ต้อง
2. อธิบายวิธกี ารทางวทิ ยาศาสตร์ได้ถกู ต้อง
3. ระบขุ อ้ มูลท่เี ปน็ ผลมาจากการสังเกตได้
4. กาหนดเกณฑแ์ ละจาแนกประเภทสง่ิ ของตามเกณฑท์ ก่ี าหนดไดถ้ ูกต้อง
5. พยากรณภ์ ายในขอบเขตข้อมลู และนอกขอบเขตข้อมลู ทก่ี าหนดใหไ้ ด้
6. ต้ังสมมติฐานจากปัญหาทก่ี าหนดให้ได้
7. บอกตวั แปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคมุ จากปญั หาทก่ี าหนดใหไ้ ด้
8. อธบิ ายความหมายของโครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้
9. ระบปุ ระเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตรจ์ ากขอ้ มลู ทก่ี าหนดใหไ้ ด้ถูกต้อง
10. อธิบายข้ันตอนในการทาโครงงานวทิ ยาศาสตรไ์ ด้
11. จดั ทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เขยี นรายงานและแสดงผลงานที่ศึกษาได้

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 16

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พือ่ พัฒนาทักษะชีวิต

แบบทดสอบก่อนเรียน

รหสั วิชา 2000-1301 วิชา วิทยาศาสตร์เพือ่ พฒั นาทักษะชวี ติ
หน่วยที่ 1 เร่ือง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เวลาทดสอบ 15 นาที

คาชแี้ จง ให้ผเู้ รียนทาเคร่อื งหมาย X ทบั ตัวอักษร ก, ข, ค. ง ที่เห็นวา่ ถูกทสี่ ดุ เพยี งคาตอบเดียว

จดุ ประสงค์ที่ 1 บอกความหมายของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีได้ 17
1. การนาความรูท้ างด้านวทิ ยาศาสตร์มาใช้ประโยชน์ประยกุ ต์สร้างเครือ่ งมอื เครอ่ื งใช้ เพื่ออานวยความ
สะดวกหรอื เปน็ แนวทางในการศกึ ษาขัน้ ต่อไป เรยี กวา่ อะไร

ก. เคร่ืองมือ (Hardware)
ข. เทคโนโลยี (Technology)
ค. วิทยาศาสตร์ (Science)
ง. กระบวนการหรอื วิธกี าร (Software)
จดุ ประสงค์ที่ 2 อธบิ ายวิธกี ารทางวิทยาศาสตรไ์ ดถ้ ูกตอ้ ง
2. ข้อใดไม่ใช่ข้นั ตอนของวธิ ที างวทิ ยาศาสตร์
ก. การทดลอง
ข. การระบปุ ัญหา
ค. การพยากรณ์
ง. การสรปุ ผลการทดลอง
3. ข้อใดเรยี งลาดบั การใชว้ ิธที างวทิ ยาศาสตรไ์ ด้ถกู ตอ้ ง
ก. ระบปุ ัญหา ตั้งสมมติฐาน ทดลอง สรุปผล
ข. ต้ังสมมติฐาน ระบปุ ญั หา ทดลอง สรปุ ผล
ค. ตง้ั สมมติฐาน ทดลอง ระบปุ ญั หา สรปุ ผล
ง. ระบปุ ัญหา ทดลอง ตัง้ สมมติฐาน สรุปผล
จดุ ประสงค์ท่ี 3 ระบุขอ้ มูลท่เี ป็นผลมาจากการสงั เกตได้
4. การสงั เกตรูปรา่ งลักษณะทางกายภาพ เชน่ สี กลิ่น รส เป็นการสงั เกตแบบใด
ก. เชงิ ปรมิ าณ
ข. เชิงคณุ ภาพ
ค. เชิงเปรยี บเทียบ
ง. เชงิ สงั เกตการณ์เปล่ียนแปลง

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทักษะชีวติ

5. ขอ้ ใดเป็นข้อมูลจากการสงั เกตเทียนไข
ก. เทียนไขแท่งนสี้ สี วย
ข. เทยี นไขแท่งน้ที าทอี่ าเภอเสนา
ค. เทียนไขควรเก็บในทอี่ ากาศเยน็
ง. เทียนไขเปน็ แทง่ ยาวประมาณ 10 เซนตเิ มตร

จุดประสงค์ที่ 4 กาหนดเกณฑแ์ ละจาแนกประเภทสง่ิ ของตามเกณฑ์ทก่ี าหนดไดถ้ กู ตอ้ ง
6. ความสามารถในการแบ่งพวกหรอื เรียงลาดบั โดยมเี กณฑค์ วามเหมอื นหรอื ความสมั พันธอ์ ยา่ งใดอยา่ งหนงึ่
จัดเปน็ ทักษะกระบวนการดา้ นใด

ก. การทดลอง
ข. การสรปุ ผล
ค. การพยากรณ์
ง. การแยกประเภท
จุดประสงค์ที่ 5 พยากรณภ์ ายในขอบเขตข้อมลู และนอกขอบเขตขอ้ มลู ทีก่ าหนดให้ได้
7. ในการวัดความสูงและน้าหนักของนักเรยี นชายจานวน 6 คน ไดผ้ ลดังนี้

คน ความสงู (ซ.ม.) นา้ หนัก (ก.ก.)

1 120 35

2 135 40

3 150 45

4 165 60

5 180 80

6 195 85

จากข้อมลู ขา้ งบนนี้ เด็กนกั เรียนทีม่ ีความสงู 160 ซ.ม. จะหนกั ประมาณเทา่ ใด
ก. 45 ก.ก.
ข. 50 ก.ก.
ค. 55 ก.ก.
ง. 60 ก.ก.

จดุ ประสงค์ท่ี 6 ต้งั สมมตฐิ านจากปญั หาทก่ี าหนดให้ได้
8. ขอ้ ใดเป็นสมมติฐานทตี่ ้งั ข้ึนจากการทดลองเล้ียงไก่ด้วยข้าวเปลือกเปลา่ ๆกับการเล้ียงไก่ดว้ ยราผสมปลาปน่

ก. ไกท่ ่ีกนิ ราผสมข้าวปน่ จะสรา้ งภมู คิ มุ้ กันโรคได้ดีกว่าไกท่ ีก่ นิ ข้าวเปลอื ก
ข. ไก่ทกี่ ินราผสมปลาปน่ จะเจริญเติบโตไดด้ ีกวา่ ไกท่ ก่ี ินขา้ วเปลอื กเปล่าๆ

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 18

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต

ค. ไกท่ ก่ี นิ ราผสมปลาป่นมีน้าหนักมากกวา่ ไก่ท่กี นิ ขา้ วเปลอื กเปล่าๆ อยา่ งเดียว
ง. ถูกทุกข้อ
จุดประสงค์ที่ 7 บอกตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม ตวั แปรควบคมุ จากปญั หาทก่ี าหนดใหไ้ ด้
9. ตัวแปรทีเ่ ป็นสาเหตทุ ท่ี าใหเ้ กดิ ผลตา่ ง ๆหรอื ตวั แปรทเ่ี ราต้องการศึกษาเรยี กว่าอะไร
ก. ตวั แปรตาม
ข. ตัวแปรตน้
ค. ตัวแปรควบคมุ
ง. ตัวแปรไม่อสิ ระ
10. ปัญหา“ความช้ืนของทรายมผี ลตอ่ การรกั ษาความสดของมะนาวหรือไม่” ตัวแปรตน้ ของปญั หานี้คือขอ้ ใด
ก. ปริมาณนา้ ในทราย
ข. ความสดของมะนาว
ค. ขนาดของอุณหภมู ิ
ง. ชนดิ ของมะนาว
จุดประสงค์ที่ 8 อธิบายความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้
11. ขอ้ ใดเป็นความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์
ก. เนน้ การคิดเป็น ทาเปน็ และแกป้ ญั หาได้
ข. เน้นการศกึ ษาเรือ่ งราวทางวิทยาศาสตรท์ ผ่ี ู้เรยี นสนใจ
ค. เน้นการใช้วิธีการทางวิทยาศาสตร์เปน็ แนวทางการศกึ ษา
ง. ถกู ทกุ ข้อ
จดุ ประสงค์ที่ 9 ระบปุ ระเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตรจ์ ากข้อมลู ทีก่ าหนดให้ได้ถกู ตอ้ ง
12. “เครือ่ งอบกล้วยนา้ หว้าพลงั แสงอาทิตย์” เปน็ โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทใด
ก. ทดลอง
ข. สารวจรวบรวมข้อมลู
ค. สิ่งประดิษฐ์
ง. ทฤษฎี
13. ข้อใด ไมใ่ ช่ โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทสง่ิ ประดษิ ฐ์
ก. การพฒั นาเครอ่ื งกะเทาะเปลอื กถวั่
ข. การพฒั นาเครื่องสลัดเปลือกกระเทยี ม
ค. การพฒั นาเคร่ืองกวนขนมเอนกประสงค์
ง. การเปรยี บเทยี บกระถางเพาะต้นกล้าจากเปลอื กมังคดุ

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 19

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพัฒนาทกั ษะชีวิต

จดุ ประสงค์ที่ 10 อธิบายขน้ั ตอนในการทาโครงงานวิทยาศาสตรไ์ ด้
14. ข้อใดเปน็ ขัน้ ตอนแรกของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์

ก. การทดลอง
ข. การตง้ั ปญั หา
ค. การกาหนดตวั แปร
ง. การเก็บรวบรวมขอ้ มูล
จุดประสงค์ท่ี 11 จัดทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ เขยี นรายงานและแสดงผลงานทศี่ ึกษาได้
15. การเขียนรายงานข้อใดครอบคลมุ ทกุ หวั ขอ้
ก. บทคัดยอ่ วธิ ีดาเนินการ สรุปผลการทดลอง
ข. วธิ ีดาเนินการ บทคดั ย่อ ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ค. บทคดั ย่อ ทมี่ าและความสาคญั ของโครงงาน วธิ ดี าเนนิ งาน สรปุ ผลการทดลอง
ง. ที่มาและความสาคญั ของโครงงาน บทคดั ยอ่ วิธดี าเนินงาน สรุปผลการทดลอง

……………………………………………………

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 20

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์เพือ่ พฒั นาทักษะชวี ติ

กระดาษคาตอบ

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรื่อง กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

แบบทดสอบกอ่ นเรียน

ช่ือ-นามสกลุ ……………………..……………………..แผนก/ชัน้ ……………….เลขท…่ี …………..

ขอ้ ก ข ค ง
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15

แบบทดสอบ คะแนนเต็ม คะแนนท่ีได้
แบบทดสอบก่อนเรียน 15

เกณฑ์การประเมนิ ผลการประเมนิ
ถ้านกั เรยี นทาได้ 0-7 คะแนน อยูใ่ นเกณฑ์ ไมผ่ า่ น  ผ่าน
ถ้านกั เรียนทาได้ 8-10 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ พอใช้
ถ้านกั เรยี นทาได้ 11-13 คะแนน อย่ใู นเกณฑ์ ดี  ดมี าก
ถ้านกั เรยี นทาได้ 14-15 คะแนน อยู่ในเกณฑ์ ดีมาก  ดี
 พอใช้
หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์  ไม่ผา่ น

21

เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า วิทยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทักษะชวี ิต

หน่วยที่ 1

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

1. ความหมายของวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชชั พล ทรงสุนทรวงศ์ (2549 : 101 ) กลา่ วถึง วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ว่า วทิ ยาศาสตร์
และเทคโนโลยีเป็นคาที่มักจะนามาใช้ควบคู่กัน เน่ืองจากมีความเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด แต่
วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีน้ัน มีความหมายไม่เหมอื นกัน วทิ ยาศาสตร์เกิดขนึ้ เพราะความอยากรู้
อยากเห็นของมนุษย์โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาหาความร้จู ากธรรมชาติ และมีการนาความรูท้ ี่ได้
จากการศกึ ษาธรรมชาติมาใชป้ ระโยชน์ต่าง ๆ เช่น การนาความร้ทู างด้านเคมีมาประดิษฐพ์ ลาสติก
การนาความรู้ทางด้านวชิ าชีววทิ ยามาใช้เพาะเลย้ี งเน้ือเยอื่ เพอ่ื ขยายพนั ธ์พุ ืช ซึ่งถือว่าเป็นการนาเอา
วทิ ยาศาสตรม์ า “ประยกุ ต์” หรอื “ใชง้ าน” ดงั ภาพที่ 1.1 และภาพที่ 1.2

ภาพที่ 1.1 แสดง ภาชนะตา่ ง ๆ ที่ทาจากพลาสติก
ทีม่ า : //www.bloggang.com/viewdiary.php?id=sodnaisoi&month=08-

2011&date=15&group=48&gblog=25, 9 พฤษภาคม 2557

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 22

เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาทกั ษะชีวิต

ภาพที่ 1.2 แสดงการเพาะเลี้ยงเนื้อเยอื่ เพอ่ื ขยายพนั ธ์ุพชื
ทม่ี า : //market.bansuanporpeang.com/product , 9 พฤษภาคม 2557

1.1.1 ความหมายของวทิ ยาศาสตร์

คาว่า วิทยาศาสตร์ ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า "Science” ซึ่งมาจากศัพท์ภาษาลาตินว่า
“Scientia” แปลวา่ ความรู้ (Knowledge) ไดม้ ผี ู้ให้ความหมายไว้หลากหลายดงั น้ี

ชานาญ เชาวกีรตพิ งศ์ (2534 : 5) อธบิ ายวา่ วิทยาศาสตร์ คือ ความรู้ท่ีแสดงหรอื พิสูจนไ์ ด้
ว่าถูกต้องเปน็ ความจริง จัดไว้เป็นหมวดหมู่ มีระเบียบและข้ันตอน สรุปได้เปน็ กฎเกณฑส์ ากล เปน็
ความรู้ที่ได้มาโดยวิธีการท่ีเริ่มต้นด้วยการสังเกต และ/หรือ การจัดที่เป็นระเบียบมีข้ันตอน และ
ปราศจากอคติวิทยาศาสตรจ์ ึงไม่ถูกจากัดด้วยเวลา สถานท่ี และวฒั นธรรม

สมพงษ์ ใจดี (2551 : 8) กล่าวว่า วิทยาศาสตร์เปน็ วิชาหนึ่งซึ่งเกี่ยวข้องกับกระบวนการ
ของการสังเกต ศึกษา ค้นคว้า และวิจัย โดยที่เราต้องการเข้าใจส่ิงต่าง ๆ ท่ีมีอยู่ในธรรมชาติ
ตลอดจนปรากฏการณ์ต่าง ๆในธรรมชาติดว้ ยแลว้ จัดเป็นระบบทม่ี รี ะเบียบในลกั ษณะของสมมตฐิ าน
และกฎต่าง

พจนานกุ รมฉบับราชบัณฑติ ยสถาน (2554 : 1120) ได้ให้ความหมายว่า “ วทิ ยาศาสตร์ คือ
ความรทู้ ่ไี ด้โดยการสงั เกต และคน้ คว้าจากปรากฏการณธ์ รรมชาตแิ ล้วจัดเขา้ เปน็ ระเบยี บ ”

วทิ ยาศาสตร์ หมายถงึ ความรู้ท่ไี ดม้ าจากการศึกษาปรากฏการณ์ธรรมชาตซิ ่ึง สามารถ
แสดงหรือพสิ จู น์ไดว้ ่าถกู ต้องและเป็นความจริง โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์
แล้วจัดความรู้นน้ั เข้าเป็นระเบียบ เป็นหมวดหมู่

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 23

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทักษะชวี ิต

1.1.2 ความหมายของเทคโนโลยี

คาว่า เทคโนโลยี ตรงกับคาภาษาอังกฤษว่า"Technology" ซ่ึงมาจากภาษากรีกว่า
"Technologia" แปลว่า การกระทาที่มีระบบ อย่างไรก็ตามคาว่า เทคโนโลยี มักนิยมใช้ควบค่กู บั คาวา่
วทิ ยาศาสตร์ โดยเรียกรวม ๆ วา่ "วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี"

ชานาญ เชาวกีรตพิ งศ์ (2534 : 5) ไดใ้ หค้ วามหมายส้ัน ๆ ว่า เทคโนโลยี หมายถงึ วิชาทว่ี ่าด้วย
การประกอบวัตถุเป็นอุตสาหกรรม หรือวิชาช่างอตุ สาหกรรม หรือการนาเอาวิทยาศาสตร์มาใช้ในทาง
ปฏิบัติ

พจนานุกรมฉบับ ราชบัณฑิตยสถาน (2554 : 580) ได้ให้ความหมายของเทคโนโลยี คือ
วทิ ยาการที่นาเอาความรทู้ างวิทยาศาสตร์มาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ในทางปฏิบตั ิอตุ สาหกรรม เป็นตน้

เทคโนโลยี (Technology) หมายถงึ การนาความร้ดู ้านวทิ ยาศาสตรใ์ นสาขาต่าง ๆ นามา
ใช้ประโยชน์โดยการประยกุ ต์ความรทู้ ่ีไดใ้ นการสร้างเครอ่ื งมือ เครื่องใช้ เพ่อื อานวยความสะดวก
สบายหรือเพอ่ื เปน็ แนวทางในการศึกษาในทางวิทยาศาสตร์ข้นั ต่อไป

1. วิธกี ารทางวิทยาศาสตร์

1.2.1 ความร้ทู างวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Knowledge)

ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เป็นความรู้ที่ได้จากธรรมชาติ โดยวิธีการแสวง หาความรู้ทาง
วิทยาศาสตรแ์ บง่ ไดเ้ ป็น 6 ระดบั ได้แก่ ข้อเทจ็ จรงิ ขอ้ มูล สมมติฐาน หลักการ ทฤษฎี กฎ

1.2.1.1 ข้อเทจ็ จริง (Fact) คอื สงิ่ ท่ีมนษุ ย์พบวา่ เปน็ ความจริงแตก่ ารบนั ทึกอาจคาด
เคลือ่ นได้

1.2.1.2 ข้อมูล (Data) หมายถึง ขอ้ เทจ็ จริงท่ีไดจ้ ากการสงั เกตหรอื ทดลอง แลว้ นา
ข้อมูลมาเสนอ ข้อมูลมี 2 แบบคือ ข้อมูลเชิงปริมาณ (มักใช้กราฟหรือตารางข้อมูลบอก) และข้อมูล
เชงิ คณุ ภาพ เป็นการบรรยายลักษณะ และพฤตกิ รรมทป่ี รากฏใหเ้ ราเหน็ ขณะทดลอง

1.2.1.3 สมมตฐิ าน (Hypothesis) คอื การคาดคะเนคาตอบของปัญหาอยา่ งมี
เหตผุ ล
1.2.1.4 หลักการ (Principle) คือ สิง่ ท่ีเปน็ ขอ้ ปฏบิ ัตหิ รอื หลกั ปฏบิ ัตหิ รอื เปน็

หนว่ ยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 24

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วทิ ยาศาสตร์เพ่อื พัฒนาทักษะชวี ิต

แนวทางทถี่ ือปฏิบัตอิ ยา่ งมเี หตุผล
1.2.1.5 กฎ (Law) หมายถงึ สมมตฐิ านทีไ่ ด้รบั การยอมรบั วา่ ถูกตอ้ ง มกั เนน้ ความ

สมั พนั ธร์ ะหว่างเหตุและผล
1.2.16 ทฤษฎี (Theory) หมายถงึ สมมติฐานทผ่ี า่ นการตรวจสอบ หลายๆ ครัง้ จน

เป็นท่ยี อมรบั กนั (อาจเปล่ยี นได้ถา้ มขี ้อมูลท่ีดีกวา่ เก่ามาแก้)

1.2.2 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process)

กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ หมายถึง กระบวนการท่ีทาใหน้ ักวิทยาศาสตร์ สามารถคน้ หา
ความรู้จากธรรมชาติได้อย่างมีระบบและมีประสิทธิภาพ ซึ่งประกอบด้วย วิธีการทางวิทยาศาสตร์
(Scientific Method) ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Skill) และเจตคติทาง
วทิ ยาศาสตร์ (Scientific Attitude)

1.2.3 วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Method)

ฟรานซิส เบคอน นักวทิ ยาศาสตร์และนกั ปราชญ์ชาวอังกฤษเปน็ ผู้มีความคดิ และอิทธพิ ลอย่าง
มากต่อการศึกษาวิทยาศาสตร์ในยุคปัจจุบนั โดยเขามีความเช่ือว่า การเสาะแสวงหาความจริงจากการ
สังเกตอย่างถี่ถ้วน และการทดลองพิสูจน์หาคาอธิบายปรากฏการณ์ต่าง ๆ อย่างถูกต้องมีความสาคัญ
มากกวา่ คาสง่ั สอนทางศาสนาที่ตกทอดมาอยา่ งไรเ้ หตผุ ล

วิธีการทางวิทยาศาสตร์ เป็นขั้นตอนการทางานอย่างเป็นระบบที่นักวิทยาศาสตร์ใช้ในการ
แสวงหาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ ประกอบดว้ ยขั้นตอนการหาความรู้ 4 ข้ันตอน ดงั น้ี

1.2.3.1 ขัน้ ระบปุ ัญหา (Science the problem) เรมิ่ จากการสงั เกตโดยใช้ประสาทสัมผสั
ทั้ง 5 ได้แก่ หูตา จมูก ลิ้น และผิวกาย อย่างใดอย่างหนึ่งหรือจะใช้ร่วมกันหลายอยา่ งก็ได้ หรืออาจใช้
เคร่ืองมือทดสอบง่ายๆ ก็ได้ ท้ังนี้จะไมใ่ ส่ความคิดเหน็ สว่ นตัวของผู้สังเกต เช่น ดอกไม้เมื่อตัดออกจาก
ต้นแล้วจะเหี่ยวเร็วกว่าท่ียังอยู่กับต้น หรือผักหลังเก็บเกี่ยวจากต้นแล้วจะเห่ียว เมื่อชั่งดูจะมีน้าหนัก
น้อยลง เปน็ ต้น ซึง่ ขัน้ นเี้ ปน็ ทม่ี าของปญั หาตา่ ง ๆ

1.2.3.2 ขั้นต้งั สมมตฐิ าน (Making the Hypothesis) เป็นการคาดคะเนคาตอบของปัญหา
ท่ีเกิดข้ึนจากการสังเกตว่าจะเปน็ อย่างไร โดยใช้ความร้แู ละประสบการณ์ที่เคยมีมาอธิบาย ซึ่งสามารถ
ตั้งสมมตฐิ านของคาตอบได้มากกว่า 1 ข้อ แลว้ สามารถพสิ ูจน์วา่ การต้ังสมมติฐานถูกต้องหรอื ไม่ด้วยการ
ทดลอง

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 25

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา วิทยาศาสตร์เพือ่ พฒั นาทกั ษะชีวิต

1.2.3.3 ข้นั พสิ จู นห์ รอื ทดลอง (Experimental) ในการทดลองเพอื่ ตรวจสอบว่าสมมตฐิ าน
ทต่ี ั้งไว้ถูกต้องหรอื ไม่ อย่างไรก็ตามควรทาการทดลองไม่ต่ากวา่ 2 ครง้ั เพือ่ ยนื ยนั วา่ ผลการทดลองท่ีไดม้ ี
คาตอบเปน็ อยา่ งเดียวกันหรือสอดคลอ้ งกนั โดยวิธีการทดลองแบง่ เปน็ 4 ขัน้ ตอน ดังน้ี

1) การออกแบบการทดลอง เปน็ การวางแผนการปฏิบตั งิ าน การทดลองใหร้ ดั กมุ
เพอื่ กาหนดตัวแปรทเ่ี ก่ยี วขอ้ งกบั ปญั หาหรอื เรอ่ื งท่จี ะศึกษา ซ่ึงตวั แปรจะมี 3 ตัวแปร คอื

(1) ตวั แปรต้นหรือตัวแปรอสิ ระ (Independent Variable) หมายถึง สิ่งท่ี
เปน็ สาเหตทุ าใหเ้ กิดผลตา่ ง ๆ ทต่ี ้องการวดั หรอื ศึกษาขณะทาการทดลอง

(2) ตัวแปรตาม (Dependent Variable) หมายถงึ ส่งิ ทเี่ ป็นผลอัน
เน่ืองมาจากตัวแปรตน้ หรอื ตวั แปรอิสระ

(3) ตัวแปรควบคุม ( Controlled Variable) หมายถึง สงิ่ อน่ื ๆ ทีอ่ ยู่
นอกเหนอื ตัวแปรตน้ หรอื ตวั แปรอสิ ระ ทจี่ ะมผี ลตอ่ ตวั แปรตาม จงึ ตอ้ งมกี ารควบคมุ เพอื่ มิใหม้ ีผลหรือขอ้
โตแ้ ยง้ ในการสรปุ ผลการทดลองได้

2) การจดั หาวสั ดุ อปุ กรณ์ ทจ่ี ะใช้ในการพสิ จู นห์ รอื ทดลอง
3) การกาหนดข้ันตอนของการทดลอง กาหนดระยะเวลา และวิธกี ารบนั ทึกผลการ
ทดลองและการนาเสนอข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการทดลอง
4) ทาการทดลองตามทก่ี าหนดไว้
1.2.3.4 ขัน้ สรปุ ผลการทดลอง (Conclusion) เป็นขน้ั ตอนหลงั จากทาการพิสจู นห์ รือทดลอง
เสร็จแลว้ โดยเริม่ จากการนาข้อมูลที่ได้จากการทดลองมาวิเคราะห์ เรียบเรยี ง แปลความหมาย และลง
ความเหน็ เป็นขอ้ สรุป จากน้นั นามาเขยี นรายงานผลการทดลองทไี่ ด้
การแสวงหาความรทู้ างวิทยาศาสตร์ นอกจากจะใชว้ ธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์แล้ว ผลของ
การศึกษาค้นคว้าxจะมีประสิทธิภาพเพียงใดนั้นขึ้นอยู่กับคุณลักษณะนิสัยของบุคคลนั้น ๆ เป็น
องค์ประกอบ คุณลักษณะนิสัยท่ีก่อให้เกิดประโยชน์ในการแสวงหาความรู้ เรียกว่า เจตคติทาง
วทิ ยาศาสตร์

1. เจตคติทางวิทยาศาสตร์

1.3.1 เจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Attitude) หมายถึง คณุ ลกั ษณะนสิ ยั ของบุคคล
ทจ่ี ะกอ่ ให้ เกิดประโยชนใ์ นการแสวงหาความรทู้ างวทิ ยาศาสตร์ ลกั ษณะของเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์
แบง่ ได้เป็น 2 ลักษณะ คอื

หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 26

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทักษะชีวิต

1.3.1.1 เจตคตทิ เี่ กิดจากการใชค้ วามรู้
1) กฎเกณฑ์ ทฤษฎี และหลักการตา่ ง ๆ ทางวทิ ยาศาสตร์
2) การอธิบายปรากฏการณ์ธรรมชาติในเชิงวิทยาศาสตร์ โดยถอื ผลทีเ่ กิดจากการ

สงั เกตการทดลองตามทเ่ี กดิ จรงิ โดยอาศยั ข้อมูลองค์ประกอบท่ีเหมาะสม
1.3.1.2 เจตคติท่เี กิดจากความรู้สกึ
1) กิจกรรมทางวิทยาศาสตร์ม่งุ ทก่ี ่อให้เกดิ ความคิดใหม่ๆ เพื่ออธิบายปรากฏการณ์

ธรรมชาติ คณุ คา่ สาคัญจงึ อยทู่ ่กี ารสรา้ งทฤษฎี
2) ความก้าวหน้าทางวทิ ยาศาสตรจ์ ะมมี ากข้นึ ถา้ ได้รบั การสนับสนุนจากบุคคล
3) การเปน็ นกั วทิ ยาศาสตร์ หรือการทางานท่ตี ้องใชค้ วามรทู้ างวิทยาศาสตร์ เปน็ สิ่งที่

นา่ สนใจและมีคณุ คา่

1.3.2 คณุ ลกั ษณะของบุคคลทม่ี ีเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ 27
1.3.2.1 เปน็ คนทีม่ ีเหตผุ ล
1) จะตอ้ งเป็นคนที่ยอมรบั และเช่อื ในความสาคญั ของเหตผุ ล
2) ไม่เช่ือโชคลาง คาทานาย หรอื ส่งิ ศกั ดส์ิ ิทธต์ิ า่ ง ๆ
3) คน้ หาสาเหตุของปญั หาหรอื เหตุการณ์ และหาความสมั พนั ธข์ องสาเหตกุ ับ

ผลที่เกดิ ขึน้
4) ตอ้ งเป็นบุคคลทสี่ นใจปรากฏการณต์ ่าง ๆ ทเ่ี กดิ ขึน้ และจะตอ้ งเป็นบคุ คล

ที่พยายามคน้ หาคาตอบว่า ปรากฏการณต์ ่าง ๆ นน้ั เกดิ ขึน้ ไดอ้ ยา่ งไร และทาไมจึงเกิดเหตุการณ์เช่นน้นั
1.3.2.2 เปน็ คนที่มีความอยากรู้อยากเหน็
1) มคี วามพยายามที่จะเสาะแสวงหาความร้ใู นสถานการณ์ใหมๆ่ อยเู่ สมอ
2) ตระหนกั ถงึ ความสาคัญของการแสวงหาข้อมูลเพ่มิ เติมเสมอ
3) จะตอ้ งเป็นบุคคลท่ชี อบซกั ถาม ค้นหาความรโู้ ดยวิธกี ารตา่ ง ๆ อยู่เสมอ
1.3.2.3 เป็นบุคคลท่ีมใี จกว้าง
1) เปน็ บคุ คลท่กี ลา้ ยอมรบั การวพิ ากษ์วจิ ารณจ์ ากบคุ คลอื่น
2) เป็นบคุ คลท่จี ะรบั ร้แู ละยอมรับความคิดเหน็ ใหมๆ่ อยูเ่ สมอ
3) เป็นบคุ คลทเ่ี ตม็ ใจทจ่ี ะเผยแพรค่ วามรู้และความคิดใหแ้ กบ่ ุคคลอ่ืน
4) ตระหนกั และยอมรบั ขอ้ จากัดของความรู้ท่ีคน้ พบในปจั จบุ ัน
1.3.2.4 เป็นบุคคลทม่ี ีความซอื่ สตั ย์ และมีใจเป็นกลาง
1) เป็นบคุ คลทมี่ คี วามซือ่ ตรง อดทน ยตุ ธิ รรม และละเอยี ดรอบคอบ
2) เปน็ บุคคลทม่ี คี วามมน่ั คง หนักแน่นต่อผลที่ไดจ้ ากการพสิ ูจน์
3) สงั เกตและบนั ทึกผลตา่ ง ๆ อยา่ งตรงไปตรงมา ไม่ลาเอยี ง และมีอคติ

หนว่ ยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พัฒนาทกั ษะชวี ิต

1.3.2.5 มีความเพยี รพยายาม
1) ทากจิ กรรมที่ได้รบั มอบหมายใหเ้ สรจ็ สมบรู ณ์
2) ไม่ทอ้ ถอยเมอื่ ผลการทดลองลม้ เหลว หรอื มอี ุปสรรค
3) มีความตง้ั ใจแน่วแน่ตอ่ การค้นหาความรู้

1.3.2.6 มีความละเอยี ดรอบคอบ
1) รู้จักใชว้ จิ ารณญาณก่อนทจี่ ะตัดสนิ ใจใดๆ
2) ไม่ยอมรบั สงิ่ หนึง่ ส่ิงใดจนกว่าจะมกี ารพสิ จู นท์ ่ีเชอื่ ถือได้
3) หลีกเลยี่ งการตดั สนิ ใจ และสรุปผลทีย่ ังไมม่ กี ารวเิ คราะหแ์ ล้วเป็นอยา่ งดี

1. ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (Scientific Process Skill) เป็นทักษะท่ีสาคัญใน
กระบวนการศึกษาหาความรหู้ รือค้นหาคาตอบของปัญหาทางวิทยาศาสตร์ ซ่ึงสถาบันส่งเสรมิ การสอน
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) แบ่งไว้ 13 ทักษะท่ีสาคัญประกอบด้วย ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์ข้ันพืน้ ฐาน มี 8 ทักษะ และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรข์ ้ันบูรณาการ มี 5 ทักษะ
ดังนี้

1.4.1 ทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ ้นั พ้นื ฐาน มี 8 ทักษะ ไดแ้ ก่

1.4.1.1 ทักษะการสังเกต (observation) หมายถึง ความสามารถในการใช้ประสาทสัมผสั
อย่างใดอย่างหนงึ่ หรือหลายอยา่ งรวมกนั ได้แก่ ตา หู จมกู ลน้ิ และผิวกาย เข้าไปสมั ผสั กบั วัตถุโดยตรง
หรอื เหตกุ ารณโ์ ดยมจี ดุ ประสงค์ทจี่ ะหาขอ้ มลู ซงึ่ รายละเอียดของสิง่ นัน้ ๆ โดยไมใ่ ส่ความคิดเหน็ ของ
ผู้สังเกตลงไป ขอ้ มูลท่ีได้จากการสงั เกต แบง่ ได้ 3 ประเภท คอื

1) การสังเกตเชงิ ปรมิ าณ เป็นการสงั เกตทที่ าใหไ้ ด้รายละเอยี ดเพ่มิ ขนึ้ โดยเฉพาะ
การบอกปรมิ าณทเ่ี กีย่ วข้องกบั ความยาว นา้ หนกั ปรมิ าตรคา่ ตา่ ง ๆท่เี ป็นตวั เลข

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 28

เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์เพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิต

ตัวอย่างขอ้ มลู การสังเกตเชงิ ปรมิ าณ ข้อมูลการสงั เกตเชงิ ปรมิ าณ
วตั ถทุ ี่สงั เกต

แตงโมผลนี้มมี วลประมาณ 2 กโิ ลกรัม
ปลานิลตัวนี้ยาวประมาณ 20 เซนตเิ มตร

2) การสงั เกตเชิงคณุ ภาพ เป็นข้อมลู ทเ่ี ขยี นบรรยายเกี่ยวกบั ลกั ษณะหรอื สมบัติ
ของสิง่ ที่สงั เกต โดยใชป้ ระสาทสมั ผสั ทงั้ 5 คือ ตา หู จมูก ลนิ้ ผวิ กาย

ภาพท่ี 1.3 การสังเกตโดยการชิมรส 29
ท่มี า ://www.muslimthaipost.com/main/content.php?page=sub&category

=132&id=24371 ,9 พฤษภาคม 2557

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา วิทยาศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาทักษะชีวติ

ตวั อยา่ งขอ้ มลู การสงั เกตเชงิ คุณภาพ ประสาทสัมผสั ท่ีใช้
ตา
การสงั เกตเชงิ คุณภาพ หู
วัตถุมรี ปู ร่างกลม สดี า สแี ดง จมกู
วตั ถเุ มือ่ เคาะกับโต๊ะมเี สียงดังแกร๊ก ลิ้น
วัตถมุ ีกล่ินหอม เหม็น ฉนุ
วัตถุมีรสหวาน รสเคม็ รสขม ผิวกาย
วัตถผุ ิวขรุขระ ผิวเรยี บ แขง็ นิม่

3) การสงั เกตการเปล่ียนแปลง เปน็ การสงั เกตท่ีตอ้ งใช้ทกั ษะอยา่ งมาก ทัง้ นี้เพราะการ
เปลย่ี นแปลง เปน็ สิ่งทเี่ กิดขน้ึ ตลอดเวลา เชน่ การสงั เกตน้าขึ้น-น้าลง และการเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี
เช่น สนมิ เหลก็

ภาพที่ 1.4 การสงั เกตนา้ ขน้ึ น้าลง
ท่มี า : //sites.google.com/site/krunewkew/science6/s4, 9 พฤษภาคม 2557

1.4.1.2 ทักษะการวัด (Measurement) หมายถงึ ความสามารถในการเลอื กใชเ้ ครอื่ งมอื เพื่อ
วัดหาปริมาณของสิ่งต่าง ๆออกมาเปน็ ตัวเลขท่แี นน่ อนได้อย่างเหมาะสมและถกู ตอ้ ง โดยมีหน่วยกากบั
เสมอ เช่น การวัดความยาวของโตะ๊ เก้าอ้ี ใช้ไม้บรรทัดหรือตลบั เมตรก็เพยี งพอเนื่องจากสามารถวดั ได้
ถึงระดับ 1 มิลลิเมตร แต่งานที่ต้องการวัดความละเอียดมาก ๆ เช่น งานกลึงเกลยี วสกรู งานเจียระไน
เคร่ืองมอื วดั ควรมีความละเอยี ดมากกวา่ มลิ ลเิ มตร อาจถงึ 0.01 มิลลเิ มตร จงึ ต้องใช้เคร่อื งมือวดั ละเอยี ด

หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 30

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต

เชน่ เวอรเ์ นยี ร์ แตถ่ า้ ต้องการความละเอียดมากกว่าเวอร์เนียร์ก็ต้องใช้ไมโครมเิ ตอร์ แสดง ดังภาพท่ี
1.7 ,1.8

รูปที่ 1.5 แสดงการวดั โดยใชไ้ ม้บรรทดั
ทม่ี า : //www.myfirstbrain.com/teacher_view , 9 พฤษภาคม 2557

รูปท่ี 1.6 แสดงการวดั โดยใช้เวอรเ์ นียร์
ทมี่ า : //www.youtube.com/watch?v=zNVtG1zf5tU , 9 พฤษภาคม 2557

การวัดปรมิ าณตา่ ง ๆ ได้ตรงกบั ความเปน็ จรงิ มากนอ้ ยเพียงใด ขน้ึ อย่กู บั องคป์ ระกอบ 3 ประการ
คอื

1) เทคนคิ การวัด
2) มาตรฐานของเคร่อื งมือ
3) ความระมัดระวงั ความละเอยี ดรอบคอบ
ความสามารถท่ีแสดงใหเ้ ห็นวา่ เกิดทกั ษะการวัด คอื การเลือกเครอ่ื งมอื ได้เหมาะสมกบั สง่ิ ที่
จะวัดการบอกเหตุผลในการเลือกเคร่อื งมือน้ัน บอกวิธีวัดและวิธีใช้เครอื่ งมือวัดได้ถูกต้อง ทาการ
วัดความกว้าง ความยาว ความสูง ปริมาตร น้าหนักและอ่ืนๆ ได้ถูกต้องพร้อมทั้งระบุหน่วยของ
ปริมาณทไี่ ด้จาการวัดได้

หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 31

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตร์เพอ่ื พฒั นาทักษะชวี ติ

1.4.1.3 ทกั ษะการจาแนกประเภท (Classification )
การจาแนก หมายถงึ กระบวนการจาแนกหรอื จดั จาพวกวัตถุหรอื เหตุการณ์ ออกเปน็

ประเภทตา่ ง ๆ โดยมเี กณฑใ์ นการจาแนกหรือจดั จาพวก เกณฑท์ ใ่ี ชอ้ าจพิจารณาจากลักษณะหรือสมบตั ิ
บางประการทีเ่ หมือนกัน แตกตา่ งกนั หรือสัมพันธ์กนั อย่างใดอยา่ งหนึง่ ก็ได้ การกาหนดเกณฑอ์ าจทาได้
โดยกาหนดขึน้ เอง หรือมีผู้อนื่ กาหนดให้ วิธีการจาแนก แบง่ เปน็ 3 ประเภท ดงั นี้

1) การจาแนกชัน้ เดยี ว

นกั เรียนช้ัน ปวช. 2/1

นกั เรยี นชาย นักเรยี นหญงิ

ภาพที่ 1.7 แสดงการจาแนกชน้ั เดียว
2) การจาแนกสองชัน้

ระบบนเิ วศ (ecosystem)

ระบบนิเวศบนบก ระบบนเิ วศบนบก
(terrestrial ecosystem) (terrestrial ecosystem)

คอื ระบบนเิ วศท่กี ลุ่ม คอื ระบบนเิ วศทกี่ ลุ่ม
สง่ิ มีชวี ิตภายในระบบอาศยั สงิ่ มีชีวติ ภายในระบบอาศยั
อยบู่ นพน้ื ดิน อย่ใู นแหล่งน้า

ภาพที่ 1.8 แสดงการจาแนกสองชนั้

หนว่ ยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 32

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา วิทยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาทักษะชวี ิต

3) การจาแนกหลายช้ัน

ชนดิ ของสาร

สารเนื้อเดยี ว สารเนือ้ ผสม

สารบรสิ ทุ ธ์ิ สารละลาย สารแขวนลอย คอลลอยด์

ธาตุ สารประกอบ

โลหะ อโลหะ กึง่ โลหะ

ภาพท่ี 1.9 แสดงการจาแนกหลายช้ัน

1.4.1.4 ทักษะการหาความสัมพันธ์ระหว่างสเปสกับสเปส และสเปสกับเวลา (Using Space-
Space and Space-Time Relationship)

1) สเปสของวัตถุ หมายถึง ท่ีว่างที่วัตถุน้ันครอบครองอยู่ ซึ่งจะมีรูปร่างลักษณะ
เช่นเดยี วกับวตั ถโุ ดยทัว่ ไปสเปสของวตั ถจุ ะมี 1 มิติ (ความยาว) 2 มิติ (ความกวา้ งและความยาว) และ 3
มติ ิ (ความกว้างและความยาวและความสงู )

2) ทักษะการหาความสมั พันธ์เกย่ี วกับสเปส หมายถึง ความชานาญในการจาแนกรปู มติ ิ
ของวตั ถคุ วามเกีย่ วขอ้ ง ของวตั ถุและเหตกุ ารณ์กบั รปู ร่างบอกความสมั พนั ธ์ของมติ แิ ละบอกการเปลย่ี นแปลง
ทส่ี ัมพนั ธก์ ับเวลา

ตวั อยา่ ง ทกั ษะการหาความสัมพันธเ์ ก่ียวกับสเปส
1. บอกรูปทรง 3 มิติที่เห็นได้จากการหมนุ รูป 2 มิติ
2. บอกรปู ทรง 3 มติ ิ ท่เี หน็ ได้จากเงาของรปู นน้ั
3. บอกเงาของรูป 2 มติ ิทเ่ี กิดจากการฉายไฟไปยงั รูป 3 มติ ิ
4. บอกรปู ทเ่ี กิดจากรอยตดั วัตถุรูปทรง 3 มิติ
5. บอกตาแหน่งหรอื ทิศทางของวัตถุหรอื สถานท่ี
6. บอกความสัมพนั ธ์ของสง่ิ ที่อยู่หนา้ กระจกเงา และภาพที่เห็นในกระจกเงาได้
7. ความสมั พันธร์ ะหว่างสเปสกับสเปสของวัตถุ 2 ชนิดหรือของ 2 อย่าง เพือ่ เปรยี บเทยี บกนั
8. บอกการเปล่ยี นตาแหนง่ ท่อี ยขู่ องสงิ่ ต่าง ๆ กับเวลา

หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 33

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทักษะชวี ติ

1.4.1.5 ทกั ษะการคานวณ (Using Number)
ทักษะการคานวณ คือ การนาจานวนท่ไี ดจ้ ากการสังเกต การวดั การทดลอง และจาก

แหล่งอ่ืน ๆ มาจัดกระทาให้เกิดค่าใหม่ เช่น การบวก ลบ คูณ หาร การหาค่าเฉลี่ย การยกกาลัง การ
ถอดกรณฑ์ เป็นต้น ใช้ในการสรปุ ผลการทดลอง การอธิบายและทดสอบสมมตฐิ าน คา่ ใหม่ที่ไดจ้ ากการ
คานวณจะทาให้สื่อความหมายชดั เจน และเหมาะสมย่งิ ขนึ้

การคานวณมีประโยชน์ เพราะเปน็ การนาค่าทไี่ ด้น้ันมาส่ือความหมายให้ชดั เจน และ
เหมาะสม

ตวั อยา่ งทกั ษะการคานวณ
1. สาร C มีมวล 60 g ปรมิ าตร 40 cm3 มคี วามหนาแนน่ เทา่ ไร
ความหนาแนน่ ของสาร C = 60/40 = 1.5 g/cm3
2. แทง่ วัตถรุ ปู ลูกบาศก์ ยาวดา้ นละ 10 cm3 ช่งั ได้ 7,000 g จงหา
ก. ความหนาแนน่ ของวตั ถุ
ข. ถ้าวางวตั ถุในภาชนะทใ่ี สน่ า้ เตม็ จะมนี า้ ลน้ ออกมาปรมิ าณเทา่ ไร
ก. ปริมาตรวัตถุ = 10 x 10 x 10 = 1,000 cm3
ข. ความหนาแน่นของนา้ 1 g/cm3
ดงั นนั้ ปริมาตรน้าทลี่ น้ ออกมา = ปริมาตรนา้ สว่ นทจี่ มของวัตถุ

พฤตกิ รรมทแ่ี สดงวา่ เกดิ ทักษะการคานวณ จะต้องมคี วามสามารถ ดังน้ี
1. นับจานวนสง่ิ ของไดถ้ กู ต้อง
2. ใช้ตวั เลขแสดงจานวนท่นี บั ได้
3. บอกวธิ คี านวณได้
4. คดิ คานวณได้ถูกตอ้ ง
5. แสดงวิธีคดิ คานวณได้

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 34

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่อื พัฒนาทักษะชีวิต

1.4.1.6 ทกั ษะการจัดกระทาและสื่อความหมายข้อมูล ( Organizing Data and
Communicating)

การจัดกระทา คือ การนาขอ้ มลู ดบิ มาจดั ลาดับ จดั จาพวก หาความถี่ หา
ความสัมพนั ธ์ หรอื คานวณใหม่

การสือ่ ความหมายข้อมูล เปน็ การใช้วธิ ตี า่ ง ๆ เพ่อื แสดงขอ้ มลู ใหผ้ ู้อืน่ เข้าใจ เช่น
การบรรยาย ใชแ้ ผนภูมิ แผนภาพ วงจร กราฟ ตาราง สมการ ไดอะแกรม เปน็ ตน้

ข้นั ตอนการจัดกระทาและการสอื่ ความหมายของหมายขอ้ มลู
1. เลือกรปู แบบในการจัดทานาเสนอใหเ้ หมาะสมกบั ขอ้ มูล
2. จัดกระทาขอ้ มูลตามรปู แบบทไ่ี ด้เลือกไว้ โดยอาจทาได้ดงั น้ี
2.1 จดั เรยี งลาดบั ใหม่
2.2 หาความถ่ีเมื่อมขี อ้ มลู ซา้
2.3 แยกหมวดหม่หู รอื ประเภท
2.4 คานวณหาคา่ ใหม่
2.5 บรรยายลกั ษณะสง่ิ ใดส่ิงหน่งึ หรอื สถานที่ด้วยขอ้ ความกะทดั รดั เหมาะสมจนส่ือ

ความหมายใหผ้ อู้ ื่นเขา้ ใจได้

ภาพท่ี 1.8 การสอ่ื ความหมายข้อมูลโดยใช้วงจรชีวติ เชน่ วงจรชวี ิตยุงลาย 35
ทีม่ า : //supapornmuay.files.wordpress.com/2014/02/e0b8a2e0b8b8e0b887.gif

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพอื่ พฒั นาทกั ษะชีวติ

,9 พฤษภาคม 2557

4.1.7 ทักษะการลงความเหน็ จากขอ้ มลู (Inferring)
การลงความคิดเห็นจากข้อมูล หมายถึง การอธิบายผลท่ีได้จากการสงั เกต โดยใช้ความรู้

เดิม ประสบการณ์เดิม และเหตุผลหรือเพ่ิมความคิดเหน็ ส่วนตัวลงไปด้วย เป็นการตอบเกนิ ข้อมูลท่ี
สังเกตการลงความคิดเหน็ ของแตล่ ะคนอาจแตกต่างกัน ฉะนนั้ ในขอ้ มูลชดุ เดียวกัน การลงความคิดเหน็
ของคน 2 คน อาจแตกต่างกนั
ขอ้ แตกตา่ งระหว่างการสังเกตและการลงความคดิ เห็นจากข้อมลู

การสังเกต เป็นการบอกสมบัตหิ รอื ลักษณะของวตั ถุ ปรากฏการณต์ า่ ง ๆ โดยการใชป้ ระสาท
สัมผัส เช่น หู ตา จมกู ล้ิน หรือกายสมั ผสั สว่ นการลงความคิดเห็น เป็นการบรรยายหรอื อธิบาย
ผลของการสงั เกต หรอื การใชป้ ระสาทสมั ผสั เข้าไปสัมผสั สงิ่ ของ หรือเหตกุ ารณใ์ หไ้ ด้ข้อมลู อย่างใดอยา่ ง
หนงึ่ แล้วเพ่ิมความคิดเห็นสว่ นตวั ลงไปกับข้อมูลดังกล่าว ดังตัวอย่าง

ขอ้ มูลจากการสงั เกต การลงความคดิ เหน็ จากขอ้ มลู
1. มรี ถ 2 คนั 1. รถคันสแี ดง ลากรถคนั สีเขียว

2. รถคันสแี ดงลากรถคันสเี ขยี ว เพราะรถคนั สีเขียวเสีย
2. รถคนั สีแดงลากรถคันสีเขียว

เพราะรถคนั สีเขียวน้ามนั หมด

การลงความเห็นที่เชอ่ื ถือไดข้ ึน้ อยู่กบั เง่อื นไข 4 ประการ ดงั น้ี
1. ความถูกตอ้ งของข้อมลู ถา้ ขอ้ มลู ไม่ถกู ตอ้ งการลงความคดิ เห็นกจ็ ะไม่ถูกต้องด้วย
2. ความกว้างของข้อมูล คอื ตอ้ งมีข้อมลู มากเพียงพอและหลายๆดา้ น ฉะนน้ั การสงั เกตและ

การคน้ คว้าขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ จะนาไปสคู่ าตอบทีถ่ กู ตอ้ งได้
3. ประสบการณเ์ ดมิ เพราะการลงความคดิ เหน็ นน้ั ส่วนหนง่ึ จะเกย่ี วขอ้ งกับประสบการณ์เดิมที่

เคยพบเหตกุ ารณน์ ้นั ๆ ถ้าประสบการณ์เดิมเชือ่ ถอื ได้มากโอกาสถูกกม็ มี ากดว้ ย
4. ความสามารถในการมองเห็น สามารถใชห้ ลกั ฐานใหเ้ ปน็ ประโยชน์ได้มากนอ้ ยเพียงใด

เป็นต้น

ประโยชน์ของการลงความคิดเห็นจากขอ้ มูล มดี ังน้ี 36
1. ใชเ้ ป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบการสงั เกต
2. ช่วยแนะสงิ่ ที่สงสัย
3. ช่วยแนะสาเหตุของปรากฏการณ์

หน่วยที่ 1 กร4ะ.บวชนว่ กยาแรนทะาสงวมทิ มยตาิฐศาานสตร์
5. ชว่ ยแนะแหล่งทีม่ าของปรากฏการณ์
6. ชว่ ยบอกสาเหตขุ องปรากฏการณท์ ี่แนน่ อนได้

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาทักษะชีวิต

1.4.1.8 ทักษะการพยากรณ์ (Predicting) เปน็ การคาดการณห์ รอื การทานายเกยี่ วกับเหตุการณ์
สถานการณ์ตลอดจนผลทจี่ ะเกิดขึน้ ล่วงหนา้ โดยอาศัยหลกั กฎ ทฤษฎี รวมทั้งขอ้ มูลท่ไี ด้จากการสงั เกต
หรอื จากประสบการณ์ท่ีเกดิ ซา้ ๆ ในเรอื่ งนน้ั มาช่วย

ประเภทของการพยากรณ์
1) การพยากรณ์ภายในขอบเขตของข้อมลู ทมี่ ีอยู่
2) การพยากรณภ์ ายนอกขอบเขตของข้อมูลท่ีมีอยู่
ตัวอย่าง เปรยี บเทยี บการสังเกต การลงความเหน็ และการพยากรณ์

1. ดูภาพนี้และอา่ นคาอธบิ าย
ก . ทกั ษะการสงั เกต มสี แี ดง กลน่ิ หอม มหี นามแหลม
ข . ทกั ษะการลงความคดิ เห็นจากข้อมูล เปน็ ดอก

กุหลาบบาน สแี ดง เสน้ ใบเป็นร่างแห ดงั น้นั
กหุ ลาบเป็นใบเลยี้ งคู่
ค . ทักษะการพยากรณ์ ต่อไปดอกจะบานเตม็ ที่แลว้
กลบี ดอกจะร่วงโรย

2. ถา้ นาสาหร่ายหางกระรอก ซง่ึ เปน็ พชื นา้ มาปลูกบนพนื้ ดินจะต้องตายหมด 37
- เป็นการพยากรณ์ โดยอาศัยขอ้ มูลวา่ สาหร่ายหางกระรอก เป็นพืชน้า

3. “มะละกอไม่ชอบน้าเพราะรากจะเนา่ 2-3วัน วนั นีฝ้ นตกนา้ ทว่ มขงั ต้นมะละกอทบ่ี า้ นตอ้ ง
ตายแน”่

- เป็นการพยากรณ์ โดยอาศัยข้อมลู วา่ ถา้ มนี ้ามาก รากของมะละกอจะเนา่ และตาย
ในท่สี ดุ

4. “วันนีอ้ ากาศร้อนอบอา้ ว” เป็นการสังเกต
5. “วันนอี้ ากาศร้อนอบอ้าว เพราะความช้ืนในอากาศมมี าก” เปน็ การลงความคดิ เห็น
หนว่6ย. ท“ี่ว1ันกนรอ้ี ะาบกวานศกรา้อรนทาองบวอิทา้ยวาศฝานสตตร้อ์ งตกแน่ ๆ” เปน็ การพยากรณ์

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา วทิ ยาศาสตรเ์ พอื่ พฒั นาทกั ษะชวี ิต

ใบกิจกรรมท่ี 1.1 ทกั ษะขน้ั พนื้ ฐาน

จุดประสงคก์ ารปฏิบัติ สังเกต วัด และคานวณจากสถานการณท์ ี่กาหนดให้

คาชี้แจง จากสถานการณท์ กี่ าหนด ให้นักเรยี นอ่านและตอบคาถาม

สถานการณ์
ในการทดลองตอ้ งใช้สารแอมโมเนยี ซง่ึ มลี กั ษณะเปน็ ของเหลว สีเหลอื งและมกี ลิ่นฉนุ ต้องใช้

หลอดฉดี ยาตวงครงั้ ละ 25 ลูกบาศก์เซนติเมตร ไปใสใ่ นหลอดทดลองขนาดใหญ่ 4 หลอด ดังนนั้ ผู้
ทดลองตอ้ งเตรียมสารแอมโมเนียไว้สาหรบั การทดลอง 100 ลกู บาศกเ์ ซนตเิ มตร

1. จากขอ้ ความในสถานการณท์ ี่กาหนดใหช้ ว่ งใดเป็นการใช้ทักษะของการสงั เกต จงอธบิ าย 38
(2 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ในการทดลองชว่ งใดทีม่ กี ารใช้ทกั ษะการวดั จงอธิบาย (2 คะแนน)
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

3. จากข้อความในสถานการณท์ ีก่ าหนดให้ช่วงใดเป็นการใชท้ กั ษะการคานวณ จงอธิบาย
(1 คะแนน)

หนว่ ยที่ 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตรเ์ พื่อพัฒนาทักษะชวี ติ

……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………

ใบกิจกรรมที่ 1.2
ทักษะการจัดจาแนกประเภท

จุดประสงคก์ ารปฏิบตั ิ 1. กาหนดเกณฑ์และจาแนกประเภทสิ่งของตามเกณฑท์ ่ีกาหนดไดถ้ กู ตอ้ ง
2. จัดกระทาขอ้ มลู ทก่ี าหนดไดอ้ ยา่ งเหมาะสม

คาช้แี จง ให้นกั เรยี นจดั จาแนกประเภทสัตว์ในภาพ

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 39

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตรเ์ พอ่ื พฒั นาทกั ษะชวี ติ

ภาพที่ 1.10 แสดงภาพสตั วใ์ นหัวคน
(ท่ีมา //www.dek-d.com/board/view/1923578/)

คาถาม ในภาพมสี ตั ว์อะไรบา้ ง (เขยี นคาตอบลงในตารางดา้ นลา่ ง) ภายในเวลา 5 นาที

1 23 4

5 67 8

9 10 11 12

13 14 15 16

17 18 19 20

21 22 23 24

25 26 27 28

29 30 31 32

33 34 35 36

37 38 39 40

สรปุ เขียนชอ่ื สัตวไ์ ด้………………….ชอ่ื ผลคะแนนทไ่ี ด.้ .................... คะแนน 40
เกณฑ์การให้คะแนน

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์

เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพือ่ พัฒนาทักษะชวี ติ

- เขยี นชอ่ื สัตว์ไดม้ ากกว่า 40 ชอื่ ได้คะแนน 10 คะแนน
- เขยี นชื่อสตั ว์ได้ 31- 40 ชื่อ ได้คะแนน 8 คะแนน
- เขียนชื่อสตั วไ์ ด้ 21- 30 ชอ่ื ได้คะแนน 6 คะแนน
- เขยี นชอ่ื สตั ว์ได้ 11- 20 ช่ือ ได้คะแนน 4 คะแนน
- เขียนชื่อสตั วไ์ ด้ 1- 10 ชอ่ื ไดค้ ะแนน 2 คะแนน
คาชีแ้ จง ให้นกั เรียนนาชือ่ สตั ว์ที่ไดม้ าจาแนกประเภท

สตั ว์ในภาพ

เกณฑ์ที่ใช้แบง่
คือ……………………………………………..

สตั ว์……………………….……………...…… สตั ว์……………………….……………...……

เกณฑ์ทีใ่ ช้แบง่ สัตว์……………………………….…
คือ…………………………………………….. ไดแ้ ก่…………………………………

……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………
……………………………………………

1.สัตว์………………………………. 2.สัตว์……………………………… 3.สัตว์………………………………..
ได้แก่………………………………… ได้แก่………………………………… ได้แก่…………………………………

…………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………
…………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………
…………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………
…………………………………………… …………………………………………… ……………………………………………

หนว่ ยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 4.สัตว์……………………………… 5.สัตว์……………………..………… 41
ได้แก่………………………………… ไดแ้ ก่…………………………………

…………………………………………… ……………………………………………
…………………………………………… ……………………………………………

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วทิ ยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต

1.4.2 ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตรข์ นั้ บรู ณาการ มี 5 ทกั ษะ ได้แก่

1.4.2.1 ทกั ษะการตง้ั สมมตฐิ าน (Formulating Hypothesis) คอื การคาดคะเนคาตอบ
ทีอ่ าจเปน็ ไปได้หรือคดิ หาคาตอบลว่ งหน้าบนฐานข้อมลู ท่ไี ดจ้ ากการสงั เกตปรากฏการณ์ และการศึกษา
เอกสารตา่ ง ๆ โดยคาตอบของปญั หาซ่งึ คิดไว้น้อี าจถกู ต้องแต่ยงั ไมเ่ ป็นท่ยี อมรับจนกวา่ จะมีการทดลอง
เพอ่ื ตรวจสอบอยา่ งรอบคอบเสียกอ่ น จงึ จะทราบวา่ สมมตฐิ านที่ตงั้ ไวน้ ้ันถกู ต้องหรอื ไม่ ดงั นัน้ ควร
ตง้ั สมมตฐิ านไว้หลายๆ ข้อ และทดลองเพ่อื ตรวจสอบสมมตฐิ านไปพร้อม ๆ กัน

การตัง้ สมมตฐิ านท่ีดคี วรมลี กั ษณะดังน้ี
1) เป็นสมมตฐิ านทเี่ ขา้ ใจง่าย มกั นยิ มใช้วลี "ถ้า………...…...ดงั น้ัน"
2) เปน็ สมมตฐิ านทีแ่ นะลทู่ างทจี่ ะตรวจสอบได้
3) เป็นสมมตฐิ านท่ตี รวจไดโ้ ดยการทดลอง
4) เป็นสมมตฐิ านทสี่ อดคล้องและอยูใ่ นขอบเขตขอ้ เทจ็ จรงิ ท่ไี ด้จากการสงั เกตและ
สมั พันธก์ บั ปัญหาทีต่ งั้ ไว้
สมมตฐิ านที่เคยยอมรบั อาจล้มเลิกไดถ้ า้ มีขอ้ มูลจากการทดลองใหมๆ่ มาลบล้าง แต่
ก็มีบางสมมตฐิ านท่ีไมม่ ีข้อมูลจากการทดลองมาคัดคา้ นทาใหส้ มมตฐิ านเหลา่ นนั้ เป็นท่ยี อมรับว่าถกู ตอ้ ง
เชน่ สมมติฐานของเมนเดลเกย่ี วกับหน่วยกรรมพันธ์ุ ซึ่งเปลย่ี นกฎการแยกตวั ของยนี หรือสมมติฐานของ
อโวกาโดรซง่ึ เปลีย่ นเป็นกฎของอโวกาโดร

ตวั อย่าง
"ถ้าราเฟนิซลิ เลยี มยบั ยง้ั การเจรญิ ของแบคทเี รยี ดงั นั้นแบคทเี รียจะไม่เจรญิ เมอื่ มีราเฟนซิ ลิ

เลียมข้ึนรวมอย่ดู ว้ ย"
"ถา้ แสงแดดมีส่วนเกีย่ วขอ้ งกบั การเจริญงอกงามของต้นหญ้า ดังนน้ั ต้นหญา้ บรเิ วณทไ่ี มไ่ ดร้ บั

แสงแดดจะไมง่ อกงามหรอื ตายไป"
หรือ "ถา้ แสงแดดมสี ่วนเกย่ี วข้องกับการเจรญิ งอกงามของตน้ หญา้ ดังนัน้ ต้นหญ้าบรเิ วณท่ี

ไดร้ ับแสงแดดจะเจรญิ งอกงาม"

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 42

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ิต

เปรยี บเทยี บการตั้งสมมติฐานกับการพยากรณ์

การตง้ั สมมตฐิ าน การพยากรณ์

การทานายผลล่วงหน้าโดยไม่มหี รือไมท่ ราบ การทานายผลล่วงหนา้ โดยการมหี รอื ทราบ
ความสมั พนั ธ์เก่ยี วข้องระหวา่ งขอ้ มลู ความสัมพนั ธร์ ะหว่างขอ้ มลู ทเี่ กยี่ วขอ้ งในการ
ทานายลว่ งหน้า

1.4.2.2 ทกั ษะการกาหนดนิยามเชิงปฏิบตั กิ าร (Defining Operationally)
นยิ ามเชิงปฏิบตั กิ าร เปน็ นยิ ามท่ีผู้ทาการทดลองกาหนดความหมายและขอบเขตของ

คาหรือขอ้ ความตา่ ง ๆ หรือตวั แปรตน้ กับตวั แปรตามท่ีอย่ใู นสมมตฐิ านใหเ้ ข้าใจตรงกัน และสามารถ
สงั เกตหรอื วดั ได้ โดยการบรรยายในเชิงรปู ธรรม

ตัวอยา่ ง การให้นิยามของก๊าซออกซเิ จน
นยิ ามท่ัว ๆ ไป : ออกซิเจนเปน็ ก๊าซทมี่ เี ลขอะตอมเทา่ กบั 8 และมวลอะตอมเท่ากบั 16

( ทกุ คนเขา้ ใจตรงกันแตส่ งั เกตและวดั ไมไ่ ด้ )
นยิ ามเชงิ ปฏิบตั ิการ : ออกซิเจนเป็นกา๊ ซท่ีชว่ ยในการติดไฟ เมอ่ื นากอ้ นถ่านท่ีคุแดง

แหยล่ งไปในกา๊ ซน้ันแล้ว กอ้ นถา่ นจะลกุ เปน็ เปลวไฟ ( ทกุ คนเข้าใจตรงกนั สงั เกตและวดั ได้ )

1.4.2.3 ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร ( Identifying and Controlling
Variables)

เป็นความชานาญในการจาแนกตัวแปรต่าง ๆ ที่มีอยู่ในระบบ ได้แก่ ตัวแปรต้น ตัวแปร
ตาม และตวั แปรควบคมุ เพ่อื ใหก้ ารทดลองเป็นไปตามกาหนด

ชนดิ ของตัวแปรในการทดลอง
1) ตัวแปรตน้ หรือตัวแปรอิสระ คอื สง่ิ ทต่ี อ้ งจดั ให้แตกตา่ งกนั ไมข่ นึ้ อยู่กับสง่ิ ใด
มีความเปน็ อสิ ระในตัวเอง

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 43

เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ า วทิ ยาศาสตร์เพือ่ พฒั นาทกั ษะชวี ติ

2) ตัวแปรตาม คือ สิง่ ท่ีตอ้ งตดิ ตามดผู ลจากการจัดสิง่ ท่แี ตกตา่ งกัน ไมม่ อี ิสระใน
ตัวเอง ตอ้ งแปรเปล่ียนไปตามเหตุการณห์ รือการทดลอง

3) ตัวแปรควบคมุ คอื ส่ิงทีต่ ้องจัดใหเ้ หมือนกัน เป็นการควบคมุ เพอ่ื ให้แน่ใจว่าผล
การทดลองเกิดจากตัวแปรตน้ อย่างแทจ้ รงิ

ตัวอย่างทักษะการกาหนดและควบคมุ ตัวแปร
สมมตวิ า่ การทดลองตอ่ ไปนี้ตอ้ งการจะทดสอบสมมตฐิ านทีว่ า่
“ เมื่อพชื ได้รับแสงมากข้นึ พชื จะเจรญิ เตบิ โตสูงข้ึน “
ถ้าจะทาการทดลองเพือ่ ทดสอบสมมตฐิ านดงั กลา่ ว กาหนดตวั แปรดงั นี้
ตวั แปรต้น คอื ปริมาณแสง
ตวั แปรตาม คอื การเจรญิ เติบโตของพืช
ตวั แปรควบคมุ คอื 1. ชนดิ พืช ตอ้ งเปน็ พชื ชนดิ เดยี วกัน
2. ขนาดของพชื ทน่ี ามาทดลองต้องมีขนาดเทา่ กนั
3. ใชด้ ินชนิดเดียวกนั และปรมิ าณเท่ากันปลกู
4. รดนา้ ในเวลาเดียวกนั และปรมิ าณเท่า ๆกัน
5. วางกระถางตน้ พืชในบรเิ วณเดยี วกนั

1.4.2.4 ทักษะการทดลอง (Experimenting)
เปน็ ความชานาญในการจดั กระบวนการปฏบิ ัตกิ บั ตัวแปรตา่ ง ๆ เพอ่ื ทดสอบ

สมมตฐิ านท่ีเกดิ ขึ้น
การทดลองประกอบดว้ ย 3 ขั้นตอน
1) การออกแบบการทดลอง การออกแบบการทดลองจะตอ้ งสมั พนั ธ์กบั สมมตฐิ านที่

ตอ้ งการจะตรวจสอบ ในการออกแบบจะตอ้ งกาหนดสง่ิ ตอ่ ไปนี้
(1) วิธที ดลอง ตอ้ งระบุตัวแปรต้น ตัวแปรตาม ตวั แปรควบคมุ และเขยี นวิธกี าร

ทดลองตามลาดบั ขนั้ ตอนปฏิบัตกิ อ่ นหลงั
(2) วธิ วี ัดหรือสงั เกตการณท์ ดลองรวมถงึ ระยะเวลาทท่ี ดลอง
(3) ออกแบบบนั ทกึ ผลการทดลองให้สอดคล้องกบั สิง่ ทตี่ ้องการทดลอง
(4) อุปกรณท์ ใี่ ช้ในการทดลอง

2) การปฏิบตั กิ ารทดลอง ปฏิบตั ิการทดลองจรงิ ตามทกี่ าหนดไวใ้ นวิธที ดลอง

หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 44

เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ า วิทยาศาสตร์เพอ่ื พฒั นาทักษะชีวติ

3) การบันทกึ ผลการทดลอง บันทึกผลการทดลองตามแบบบนั ทกึ ทไี่ ด้ออกแบบไว้
แลว้

ภาพที่ 1.11 แสดงการออกแบบการทดลอง
ทีม่ า : //www.neutron.rmutphysics.com/chemistry-
glossary/index.php?option=com_content&task=view&id=934&Itemid=160

,9 พฤษภาคม 2557

1.4.2.5 ทักษะการตคี วามหมายขอ้ มลู และการลงข้อสรปุ
(Interpreting Data and Making Conclusion)
เป็นความชานาญในการหารปู แบบของความสมั พันธ์จากขอ้ มลู เพอื่ อธิบายและ

นาไปส่กู ารลงความคดิ เหน็ การทานาย และการตั้งสมมติฐาน โดยแบง่ เป็น 2 ลกั ษณะ คือ
การแปลความหมายข้อมลู หมายถึง เปน็ การอธบิ ายลกั ษณะและสมบตั ขิ องข้อมลู

หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 45

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา วทิ ยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะชวี ิต

โดยตรง

การลงขอ้ สรปุ หมายถึง เป็นการบอกความสมั พนั ธ์ระหวา่ งขอ้ มูลทมี่ ีอยู่

ตัวอยา่ ง ขอ้ มูลความสงู ของตน้ พรกิ ทเี่ พาะเมลด็ ความสงู
( เซนติเมตร )
ระยะเวลาหลงั จากเพาะเมลด็
( สปั ดาห์ ) 1.2
1 3.4
2 8.3
5 13.0
7 28.5
9

การแปลความหมายของข้อมูล
- ในเวลา 7 สปั ดาห์ ต้นพริกสูง 13 เซนตเิ มตร
- ต้นพรกิ สูง 8.3 เซนตเิ มตร ในเวลา 5 สปั ดาห์

การลงขอ้ สรปุ
- ต้นพริกสูงเพมิ่ ข้นึ ตามระยะเวลาทผี่ า่ นไปนาน

การพยากรณ์
- ในเวลา 4 สปั ดาห์ ตน้ พริกจะสงู ประมาณ 4 เซนติเมตร

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 46

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชา วิทยาศาสตรเ์ พื่อพฒั นาทกั ษะชีวติ

ใบกิจกรรมท่ี 1.3
ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร

จดุ ประสงค์การปฏิบัติ บอกตวั แปรตน้ ตัวแปรตาม ตวั แปรควบคมุ จากปัญหาทกี่ าหนดให้ได้
คาชแ้ี จง จากขอ้ ความตอ่ ไปนใี้ ห้นกั เรียนเติมตวั แปรต้น ตัวแปรตาม ตัวแปรควบคมุ ลงในช่องว่าง

ตัวอย่าง การงอกของเมล็ดพืชทตี่ า่ งกนั ข้นึ อยกู่ บั ปรมิ าณน้าทีไ่ ดร้ บั
ตัวแปรต้น คือ ปริมาณน้าท่ไี ดร้ บั
ตัวแปรตาม คือ การงอกของเมล็ดพชื
ตัวแปรควบคมุ คือ ชนดิ ของเมล็ดพชื จานวนเมล็ดพืช ปริมาณแสง

1. ปรมิ าณน้ามผี ลต่อการงอกของเมลด็ ผักบงุ้
ตัวแปรตน้ คอื ………………………………………………………………………………………………………………..
ตัวแปรตาม คือ ………………………………………………………………………………………………………………
ตัวแปรควบคุม คอื …………………………………………………………………………………………………………

2. แสงสว่างมผี ลต่อการเจรญิ เตบิ โตของต้นกระเพรา
ตวั แปรต้น คอื ………………………………………………………………………………………………………………..
ตัวแปรตาม คือ ………………………………………………………………………………………………………………
ตัวแปรควบคมุ คอื …………………………………………………………………………………………………………

3. ชนิดของฟักทองทีเ่ หมาะสมในการทานา้ ฟกั ทอง
ตัวแปรต้น คอื ………………………………………………………………………………………………………………..
ตัวแปรตาม คอื ………………………………………………………………………………………………………………
ตวั แปรควบคมุ คอื …………………………………………………………………………………………………………

4. การเปรียบเทยี บดินระเบดิ อนิ ทรยี ์ทมี่ ผี ลต่อคณุ ภาพนา้ ในบ่อเลีย้ งปลา

หน่วยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 47

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตรเ์ พ่ือพฒั นาทกั ษะชวี ติ

ตวั แปรตน้ คอื ………………………………………………………………………………………………………………..
ตวั แปรตาม คือ ………………………………………………………………………………………………………………
ตัวแปรควบคมุ คอื …………………………………………………………………………………………………………
5. การศกึ ษาประสทิ ธภิ าพพชื สมนุ ไพรในการกาจัดปลวก
ตัวแปรต้น คือ ………………………………………………………………………………………………………………..
ตัวแปรตาม คือ ………………………………………………………………………………………………………………
ตัวแปรควบคมุ คือ …………………………………………………………………………………………………………

ใบกิจกรรมท่ี 1.4
ทกั ษะการต้งั สมมติฐาน

จุดประสงค์การปฏิบัติ ต้งั สมมตฐิ านจากปญั หาที่กาหนดให้ได้
คาชแ้ี จง ใหน้ กั เรยี นตง้ั ปญั หาและต้งั สมมตฐิ านจากปญั หาทนี่ ักเรยี นตง้ั ขนึ้

ตวั อย่าง ปัญหา : “ปริมาณน้ามผี ลต่อการงอกของเมลด็ พืชหรือไม่”

สมมตฐิ าน :
1. ปรมิ าณน้ามผี ลต่อการงอกของเมล็ดพืช
2. ถ้าปริมาณน้ามผี ลต่อการงอกของเมล็ด ดงั นั้น เมล็ดพืชทีไ่ ด้รับน้าจะงอก ไดด้ กี วา่
เมลด็ พืชท่ีไมไ่ ดร้ บั นา้

1. ปัญหา……………………………………………………………………………………………………………………………
สมมติฐาน
1.1………………………………………………………………………………………………………………………………
1.2………………………………………………………………………………………………………………………………

2. ปญั หา….………………………………………………………………………………………………………………………
สมมติฐาน
2.1……………………………………………………………………………………………………………………………….
2.2………………………………………………………………………………………………………………………………

3. ปัญหา…………………………………………………………………………………………………………………………
สมมตฐิ าน
3.1………………………………………………………………………………………………………………………………
3.2……………………………………………………………………………………………………………………………….

4. ปญั หา…………………………………………………………………………………………………………..………………

หนว่ ยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 48

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วทิ ยาศาสตร์เพ่ือพัฒนาทักษะชีวิต

สมมตฐิ าน
4.1………………………………………………………………………………………………………………………………
4.2………………………………………………………………………………………………………………………………
5. ปัญหา………………………………………………………………………………………………………………………….
สมมติฐาน
5.1………………………………………………………………………………………………………………………………
5.2………………………………………………………………………………………………………………………………

1. โครงงานวทิ ยาศาสตร์

เมอ่ื เกดิ ความสงสัยพยายามหาคาตอบดว้ ยการศึกษาคน้ คว้าข้อมูล อยา่ งเปน็ ระบบ และมกี าร
วางแผนการศกึ ษาอยา่ งละเอียด กอ่ นลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามแผนท่ีวางไว้จนสาเร็จสามารถนาผลงานมาเสนอ
ได้ เรยี กวา่ การทาโครงงานวิทยาศาสตร์

1.5.1 ความหมายโครงงานวิทยาศาสตร์
กระทรวงศึกษาธกิ าร (2544 : ) ได้กล่าวว่า โครงงานวิทยาศาสตร์ถอื เป็นงานวจิ ยั ใน

ระดับนักเรียนเพราะเปน็ การศกึ ษาเรอ่ื งราวทางวทิ ยาศาสตรท์ ่นี ักเรยี นสนใจ โดยใช้วิธกี ารทาง
วิทยาศาสตร์ เป็นแนวทางในการคน้ คว้าและแกป้ ญั หา มกี ารวางแผนทจ่ี ะศกึ ษา ภายในขอบเขตของ
ระดบั ความรู้ ระยะเวลา และอปุ กรณท์ ่ีมอี ยู่ และลงมือศกึ ษา สารวจ ทดลอง เพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู แลว้
นามาประมวลผลจนไดเ้ รยี นรฝู้ ึกฝนการใชท้ ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการแก้ปัญหา รวมทง้ั
การพัฒนาเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์

การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เปน็ กจิ กรรมท่สี ง่ เสรมิ วิธีการทางวทิ ยาศาสตรอ์ ยา่ งหนึ่ง
ทาให้ผเู้ รียนคิด วเิ คราะห์ คน้ คว้า เพอ่ื ตอบคาถามที่สงสัยดว้ ยการลงมือปฏบิ ัตจิ รงิ โดยอาศัย
ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ เป็นการฝึกใหผ้ เู้ รียนทางานอย่างมีระบบ มีแบบแผน และสง่ เสรมิ ให้
ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีตอ่ วิทยาศาสตร์อนั เปน็ หลกั พื้นฐานในการสง่ เสริมใหม้ ีความอยากรอู้ ยากเหน็
มีเหตผุ ล

1.5.2 จดุ ม่งุ หมายของการทาโครงงานวิทยาศาสตร์
สถาบันสง่ เสรมิ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ได้กาหนดจดุ มุง่ หมายของโครงงาน

วิทยาศาสตร์ไวด้ งั น้ี

หนว่ ยที่ 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 49

เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชา วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทกั ษะชวี ิต

1.5.2.1 เพอ่ื ใหผ้ ู้เรยี นใช้ความรูแ้ ละประสบการณเ์ ลอื กทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ตาม
ความสนใจ

1.5.2.2 เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนได้ศกึ ษาหาความรู้ หาขอ้ มูลจากแหล่งความร้ตู า่ งๆ ดว้ ยตนเอง
1.5.2.3 เพื่อใหผ้ ู้เรยี นได้แสดงออกซง่ึ ความคดิ สร้างสรรค์
1.5.2.4 เพอ่ื ใหผ้ เู้ รยี นมเี จตคติทด่ี ตี ่อกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เหน็ คุณคา่ ของการ

ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตรใ์ นการแกป้ ญั หาตา่ ง ๆ
1.5.2.5 เพ่ือใหผ้ ู้เรียนได้แนวทางในการประยุกตใ์ ช้วธิ ีการทางวิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยีในแต่ละทอ้ งถ่นิ

จุดมุง่ หมายที่สาคัญของโครงงานวิทยาศาสตร์ คอื เนน้ ใหผ้ เู้ รยี นร้จู กั ขัน้ ตอนทาง
วิทยาศาสตรแ์ ละศกึ ษาหาความรู้ดว้ ยตนเอง

1.5.3 ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์

โครงงานวทิ ยาศาสตรแ์ บ่งเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี
1. โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทสารวจรวบรวมข้อมลู
2. โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภททดลอง
3. โครงงานวทิ ยาศาสตรป์ ระเภทสงิ่ ประดษิ ฐ์
4. โครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภททฤษฎี

1.5.3.1 โครงงานวิทยาศาสตรป์ ระเภทสารวจรวบรวมขอ้ มูล 50
โครงงานประเภทน้ไี ม่ตอ้ งกาหนดตัวแปรอสิ ระ เปน็ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตาม

สิ่งทสี่ นใจศึกษาแลว้ นามาจัดจาแนกเป็นหมวดหมู่ ตามจุดมงุ่ หมายที่กาหนดเพื่อแสดงใหเ้ หน็
ความสัมพนั ธ์หรือลกั ษณะอยา่ งชดั เจนจงึ สามรถเสนอผลงานไดแ้ บ่งแยกเปน็ 3 ประเภท ดังน้ี

1) การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลภาคสนามโดยไม่ตอ้ งนาตวั อยา่ งเข้ามาวเิ คราะหใ์ น
ห้องปฏิบตั กิ ารมกั เปน็ เรอื่ งเกี่ยวกบั ธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มรอบตวั เชน่

- การศกึ ษาพืชสมนุ ไพรแก้อาการปวดฟนั ท่ดี อยอา่ งขา่ ง
- สารวจการใชน้ ้าหมกั ชวี ภาพแทนปยุ๋ เคมที ห่ี มบู่ า้ นเกษตรพฒั นา
2) การเกบ็ รวบรวมตวั อย่างจากภาคสนามแลว้ นามาวเิ คราะหใ์ นห้องปฏบิ ัตกิ าร
เช่น
- การศึกษาค่าพเี อชของดนิ บรเิ วณแหล่งนิคมอตุ สาหกรรมมาบตาพดุ

หน่วยท่ี 1 กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก