เศรษฐศาสตร์ สิ่งแวดล้อม คือ

Course

ข้อมูลหลักสูตร

การพัฒนาหลักสูตรมีความสอดคล้องกับการขับเคลื่อนการพัฒนาเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศด้วยการผลิตทรัพยากรบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมจึงเป็นส่วนหนึ่งของการตอบสนองต่อนโยบายภาคเกษตรไทยในการเพิ่มขีดความสามารถทางการค้าและการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน และมีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ คือ การเป็นมหาวิทยาลัยชั้นนำที่มีความเป็นเลิศทางการเกษตรระดับนานาชาติ และยุทธศาสตร์การพัฒนาที่ยั่งยืนโดยการจัดการเรียนการสอนที่เท่าทันความเปลี่ยนแปลงและเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับชุมชนและประเทศชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการให้องค์ความรู้ด้านการจัดการธุรกิจเกษตร ห่วงโซ่อุปทานและโลจิสติก การจัดการฟาร์มสมัยใหม่ การฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติ การจัดการภัยพิบัติและการรับมือกับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่ส่งผลต่อการเกษตร นอกจากนี้หลักสูตรยังสนับสนุนเป้าหมายของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่มุ่งพัฒนาสู่ Go Eco หรือมหาวิทยาลัยสีเขียวและมหาวิทยาลัยเชิงนิเวศ

ปรัชญา

สร้างบัณฑิตให้มีภาวะผู้นำ มีจิตสำนึกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม ตลอดจนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางเศรษฐศาสตร์ในการจัดการเกษตรและสิ่งแวดล้อมอย่างสอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาการเกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม และการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างสมดุลและยั่งยืน

วัตถุประสงค์

  1. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีคุณธรรม จริยธรรม ความเป็นผู้นำในการนำความรู้ความสามารถ ตลอดจนประสบการณ์ในการใช้หลักทางวิชาการให้เกิดประโยชน์ต่อการพัฒนาการเกษตรและสิ่งแวดล้อมของประเทศ นำมาสู่การสร้างจิตสำนึกต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
  2. เพื่อผลิตบัณฑิตให้มีความรอบรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่เกี่ยวข้องด้านเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม มีความสามารถและมีทักษะในการคิดวิเคราะห์อย่างเป็นระบบ ด้านการวิเคราะห์ปัญหาการเกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการวางแผนการจัดการเกษตรและสิ่งแวดล้อมและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้อย่างเหมาะสม
  3. เพื่อผลิตบัณฑิตในระดับปริญญาตรีด้านเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม ให้มีความรู้ความสามารถนำไปประกอบอาชีพทั้งภาครัฐและเอกชน และประกอบอาชีพอิสระได้ ด้วยการประยุกต์ใช้เครื่องมือเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อมเพื่อการบริหารจัดการ และออกแบบโครงการด้านการจัดการเกษตรและสิ่งแวดล้อม

การจัดการศึกษา

การศึกษาในมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ใช้ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติ มีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์

ไม่มีการจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน ไม่มีการจัดการศึกษาระบบอื่น นอกเหนือจากระบบทวิภาค

คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา

  1. สำเร็จการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้หรือเทียบเท่า ผ่านการสอบคัดเลือกตามเกณฑ์ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) หรือผ่านการคัดเลือกตามหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
  2. เป็นผู้มีคุณสมบัติตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาขั้นปริญญาตรีตามระเบียบและประกาศอื่นๆ ของมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องโดยอนุโลม

Education Planing

แผนการศึกษา

ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชาชื่อรายวิชาหน่วยกิต
10700307 ทักษะภาษาอังกฤษสำหรับศตวรรษ ที่ 21 3 (2,2,5)
10800114 ความฉลาดทางดิจิทัล 3 (3,0,6)
10500501 เศรษฐศาสตร์เพื่อชีวิตประจำวันและการประกอบการ 3 (3,0,6)
10501111 นิเวศวิทยากับการพัฒนาที่ยั่งยืน 3 (3,0,6)
10501131 การเกษตรเบื้องต้น 2 (1,2,3)
10501101 หลักเศรษฐศาสตร์จุลภาค 3 (3,0,6)
รวม 17

ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชาชื่อรายวิชาหน่วยกิต
10700109 จิตอาสาเพื่อพัฒนาสังคม 3 (2,2,5)
10700306 ภาษาไทยเพื่อกิจธุระยุคดิจิทัล 3 (2,2,5)
10700211 การพัฒนาบุคลิกภาพความเป็นผู้ประกอบการที่ยั่งยืน 3 (2,2,5)
10501102 หลักเศรษฐศาสตร์มหภาค 3 (3,0,6)
10501112 เศรษฐศาสตร์ทรัพยากรธรรมชาติ 3 (3,0,6)
รวม 15

ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชาชื่อรายวิชาหน่วยกิต
10700308 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจำวัน 3 (2,2,5)
10201201 กฎหมายธุรกิจและจริยธรรมธุรกิจ 3 (3,0,6)
10119205 การจัดการทรัพยากรดินและน้ำ 3 (2,3,5)
10302204 วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม 3 (2,2,5)
10501213 เศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม 3 (3,0,6)
10501233 เศรษฐศาสตร์เกษตร 3 (3,0,6)
รวม 18

ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชาชื่อรายวิชาหน่วยกิต
10300403 โปรแกรมสำเร็จรูปเพื่อการศึกษา 3 (2,2,5)
10300405 การคำนวณทางธุรกิจและการลงทุนสำหรับผู้ประกอบการยุคใหม่ 3 (2,2,5)
10501241 บัญชีเพื่อการเกษตร 3 (2,3,5)
11201221 เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการจัดการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 3 (2,3,5)
10501261 คณิตศาสตร์และสถิติสำหรับนักเศรษฐศาสตร์ 3 (2,3,5)
รวม 15

ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชาชื่อรายวิชาหน่วยกิต
10700317 ภาษาอังกฤษเพื่อผู้ประกอบการทางการเกษตรสร้างสรรค์ 3 (2,2,5)
10501362 เศรษฐมิติสำหรับสำหรับเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม 3 (2,3,5)
10501351 ราคาและการตลาดเกษตร 3 (3,0,6)
10501364 การวิเคราะห์โครงการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 3 (2,3,5)
- วิชาเลือกเสรี วิชาที่ 1 3 (-,-,-)
- วิชาเอกเลือก วิชาที่ 1 3 (-,-,-)
รวม 18

ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชาชื่อรายวิชาหน่วยกิต
10501322 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อม 3 (3,0,6)
10501365 เทคนิคการประเมินมูลค่าทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม 3 (2,3,5)
10501334 เศรษฐศาสตร์การผลิตและการจัดการฟาร์ม 3 (2,3,5)
10501342 การจัดการธุรกิจการเกษตรชุมชน 3 (3,0,6)
- วิชาเลือกเสรี วิชาที่ 2 3 (-,-,-)
- วิชาเอกเลือก วิชาที่ 2 3 (-,-,-)
รวม 18

ภาคการศึกษาที่ 1

รหัสวิชาชื่อรายวิชาหน่วยกิต
10501466 วิธีวิจัยทางเศรษฐศาสตร์เกษตรและสิ่งแวดล้อม 3 (2,3,5)
10501471 สัมมนา 3 (0,2,1)
10501423 ระบบมาตรฐานการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 3 (3,0,6)
10123415 ภูมิสารสนเทศเพื่อการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 3 (2,3,5)
- วิชาเอกเลือก วิชาที่ 3 3 (-,-,-)
รวม 15

ภาคการศึกษาที่ 2

รหัสวิชาชื่อรายวิชาหน่วยกิต
10502907 สหกิจศึกษา หรือ 6 (ไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์)
10502908 การเรียนรู้อิสระ หรือ 6 (ไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์)
10502909 การศึกษา หรือ ฝึกงาน หรือ ฝึกอบรมต่างประเทศ 6 (ไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์)
หรือ กลุ่มฝึกงาน
10501472 โครงงานด้านการเกษตรและสิ่งแวดล้อม 3 (2,3,5)
10501481 ฝึกงาน 6 (ไม่น้อยกว่า 8 สัปดาห์)
รวม 27

Boards

อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร

คุณสมบัติของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรฯ

Teachers

อาจารย์ประจำหลักสูตร

Our Activities

ผลงานที่โดดเด่น

ยินดีกับศิษย์เก่าทุกคนที่ได้ทำงานในหน่วยงานภาครัฐ เอกชน และประกอบธุรกิจการเกษตรส่วนตัว

ยินดีกับอาจารย์ในหลักสูตรที่ร่วมสร้างสรรค์ผลงานมีชื่อเสียง ผศ.ดร.พัชรินทร์ สุภาพันธ์ ที่ได้รับรางวัลการนำเสนอบทความวิจัยดีเด่น สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ในการประชุมวิชาการระดับชาติ ปอมท. ประจำปี 2564

ชวนปลูกผักสร้างความมั่นคงทางอาหารรับมือวิกฤติโควิด น้ำมันพุ่ง "ปลูกเป็น กินได้ สบายกระเป๋า ทำไรได้"

ระบบเศรษฐกิจกับสิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร

จาก ความ สัมพันธ์ ระหว่าง สิ่ง แวดล้อม และ ระบบ เศรษฐกิจ จะ เห็น ได้ ว่า ระบบ เศรษฐกิจ ได้ ผลิต ของ เสีย ออก มา สู่ ระบบ นิเวศ ซึ่ง ระบบ นิเวศ ก็ มี ขีด จำกัด ใน การ รองรับ ของ เสีย ถ้า ของ เสีย จาก ระบบ เศรษฐกิจ ออก มา สะสม ใน ระบบ นิเวศ มาก เกิน ขีด จำกัด ก็ จะ ก่อ ให้ เกิด มลภาวะ ได้

เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์คืออะไร

เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์ ได้แก่ มาตรการทางเศรษฐศาสตร์ที่ถูกนำาเอามาใช้เพื่อกระตุ้นให้ ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในตลาด เช่น ผู้ผลิต ผู้ค้าส่ง ผู้ค้าปลีก ผู้ให้บริการ และผู้บริโภค ปรับเปลี่ยนพฤติกรรม บางอย่างเพื่อลดการปล่อยมลพิษและลดการบริโภควัสดุหรือบรรจุภัณฑ์ที่อาจกลายมาเป็นขยะมูลฝอย อีกนัยหนึ่งกลไกดังกล่าวย่อมเสริมแรงจูงใจ ...

เศรษฐศาสตร์เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร

เศรษฐศาสตร์มุ่งศึกษาพฤติกรรมและการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างตัวแสดงทางเศรษฐกิจและการทำงานของเศรษฐกิจ เศรษฐศาสตร์จุลภาควิเคราะห์องค์ประกอบหลักในระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งตัวแสดงและตลาดที่เป็นปัจเจกบุคคล การมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน และผลลัพธ์ของปฏิสัมพันธ์นั้น ตัวอย่างของตัวแสดงที่เป็นปัจเจกรวมถึงครัวเรือน ภาคธุรกิจ ผู้ซื้อ และผู้ขาย ...

Marginal Analysis คืออะไร

1.2 การคิดแบบส่วนเพิ่ม (Marginal analysis) •การตัดสินใจเลือกทางเลือกใด หรือ กิจกรรมใด บุคคลจะมีวิธีคิดแบบส่วนเพิ่ม เปรียบเทียบ ประโยชน์ส่วนเพิ่ม กับ ต้นทุนส่วนเพิ่ม เช่น การซื้อประกันสุขภาพของบุคคล • การเปลี่ยนการทาเกษตรเชิงเดี่ยวมาเป็นเกษตรอินทรีย์ • การเรียนต่อระดับปริญญา

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก