หน้าที่ในร้านอาหาร ภาษาอังกฤษ

คุณอยากทำงานในร้านอาหารที่มีชาวต่างชาติมาใช้บริการเยอะๆ ทิปงามๆ บ้างหรือไม่ เคยรู้สึกประหม่าเวลาลูกค้าชาวต่างชาติจะสั่งอาหารกับคุณมั้ย? ไม่รู้ว่าจะเริ่มต้นประโยคยังไง แล้วจะสื่อสารถูกหรือเปล่า? ลูกค้าจะเข้าใจเรามั้ย?

วันนี้ Workmate ได้รวบรวมประโยคที่สามารถนำไปใช้ได้จริง ในร้านอาหารมาฝากกันค่ะ!

การกล่าวคำทักทาย
Welcome - เชิญค่ะ
How many people? / How many seats? - มากี่ท่านคะ?
Follow me, please - เชิญเดินตามมาเลยค่ะ/ครับ

การสั่งอาหาร รับออเดอร์
Would you like to see the menu? - คุณต้องการเมนูมั้ยคะ/ครับ?
What would you like to order? - รับอะไรดีคะ/ครับ?

การชำระเงิน
Cash only - รับเฉพาะเงินสดค่ะ/ครับ
Please pay at the cashier - ชำระเงินที่แคชเชียร์นะคะ/ครับ
Here’s your change, sir - เงินทอนค่ะ/ครับ

นอกจากประโยคสนทนาพื้นฐานด้านบนแล้ว ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดของอาหารในร้านที่มีให้บริการอยู่ก็เป็นเรื่องสำคัญ เพราะสิ่งที่ชาวต่างชาติมักถามในร้านอาหารอาจเป็นได้ตั้งแต่การขอคำแนะนำเมนู ไปจนถึงส่วนประกอบของอาหาร เนื่องจากชาวต่างชาติจำนวนมากมีอาการแพ้ส่วนประกอบในอาหารบางอย่างที่พบได้บ่อยในอาหารไทย เช่น ถั่ว ผลิตภัณฑ์นม และกลูเตน เหล่านี้เป็นข้อมูลสำคัญซึ่งพนักงานเสริฟ และพนักงานบริการในร้านอาหารต้องคำนึงถึงอยู่เสมอค่ะ

_______________________________________________________________________________________________________________

busboy - ��¡�������Ф������
waiter - ��ѡ�ҹ�����
restaurant - �ѵ�Ҥ�� ��ҹ�����
kitchen - ��ͧ����
head-chef - ���˹�Ҿ�ͤ���
sous-chef - �ͧ���˹�Ҿ�ͤ���
cook - ��ͤ��� ������
ladle - �Ѿ��
spatula - ������
wok - ��зС��֡
pan - ��з�ẹ
fry - �ʹ
stir-fry - �Ѵ
pot - �����ͧ��
saucepan - ���ͷ���մ����Ѻ
recipe - �ٵ÷������
wash up - ��ҧ�ҹ
washing up - Ἱ���ҧ�ҹ
dishwasher - ��ѡ�ҹ��ҧ�ҹ
What is this dish called? - ����èҹ������¡�������
plain and bland - �״�״ ������ʪҵ�
I am afraid your food is plain and bland. - �ѹ�ç�������âͧ�س�ѹ�״
Your food is not cooked. - ����âͧ�س����ء
not cooked - ����ء (�Թ�����)
rare - �ء��ҧ�͡�Ժ��ҧ�(��Ѻ����������������)
You have to saute the chicken more. - �س��ͧ�ʹ�����ҹ���ҹ��
saute - ��÷ʹ���¹���ѹ�����
satay - �����
He is a food critic. - ���繹ѡ�Ԩ�ó������
food critic - �ѡ�Ԩ�ó������
food critique - ���Ԩ�ó������
fancy restaurant - ��ҹ�����������
posh restaurant - ��ҹ�����������
Michelin star - �ҧ��ŷ���ͺ���Ѻ��ҹ����ê�����ȷ�����Ѻ�������Ѻ�����š���ŧ㹤����� Michelin guide
panda leaves - ���
appetizer - ��������¡�������
soup - �ػ
spicy soup with fish - ����ӻ��
You know how to cook? - �س�������������
dessert - �����ҹ �ͧ��ҹ
taro balls in coconut milk - ��������͡
season - Ĵ�, ��ا�����
seasoning - ����ͧ��ا
garlic - �������
pepper - ��ԡ��
vineger - ��������ª�
sugar - ��ӵ��
marinate the chicken with spices - ��ѡ��Ѻ����ͧ��
Who cooked this food? - ���繤��������
tasty - �ʪҵԡ�������
yummy - �����
rich - �����, ���

��Ҫ� : 30198

สำหรับใครที่วางแผนไว้ว่าจะไปเรียนต่อด้านภาษาที่ต่างประเทศ แต่ระหว่างเรียนก็ไม่อยากขอเงินพ่อแม่ไว้ใช้จ่าย ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่ที่ไปเรียนภาษาที่ต่างประเทศก็ต่างจะมีรายได้พิเศษจากการทำงานพาร์ทไทม์ (10 งาน Part time รายได้ดีในต่างประเทศ) และหนึ่งในอาชีพพาร์ทไทม์ที่ฮอตฮิตที่สุดก็คงหนีไม่พ้นการทำงานในร้านอาหาร โดยเฉพาะนักเรียนไทยที่จะได้ทำงานที่ร้านอาหารไทย ดังนั้นจึงจำเป็นที่จะต้องสปี๊กอิงลิชกับฝรั่งที่เข้ามาทานอาหารไทยนั่นเอง เอาล่ะค่ะอย่ารอช้าเรามาดูกันว่าจะมีบทสนทนาใดบ้าง ที่ควรทราาบและจำไว้เพื่อการทำงานในร้านอาหาร

การรับจองโต๊ะ

Taking reservations via phone (การรับจองโต๊ะทางโทรศัพท์)

  • What date and time would you like to make your reservation?

          (จะจองโต๊ะวันไหน และเวลาไหนดีคะ)

  • And for how many people please? Any children?

          (มากี่ท่านคะ และมีเด็กมาด้วยหรือเปล่า)

  • Can I have your name and your contact number please?

          (รบกวนขอทราบชื่อ และเบอร์ติดต่อกลับด้วยค่ะ)

  • So…3 people on Friday 7 o’clock.

          สำหรับการทวน (ตกลงเป็น 3 ท่าน วันศุกร์นี้เวลา 1 ทุ่มนะคะ)

การรับออร์เดอร์

Taking orders via phone (การรับออร์เดอร์ทางโทรศัพท์)

  • Hi, this is (restaurant name).

          (สวัสดีค่ะ ร้าน....ค่ะ)

  • Pick up or delivery please?

          (จะมารับอาหาร หรือ จะให้ไปส่งดีคะ)

  • What would you like today?

          (จะรับอะไรดีคะ)

  • May I repeat your order back please to make sure I have everything.

          (ขอรบกวนทวนรายการอาหารหน่อยนะคะ จะได้แน่ใจว่าจดครบทุกอย่าง)

Pick up (กรณีลูกค้าต้องการมารับอาหารเอง)

  • And can I please have your name and phone number?  

          (รบกวนขอชื่อ และเบอร์ติดต่อกลับด้วยนะคะ)

  • Thank you, that should take about 30 minutes.

          (ขอบคุณค่ะ น่าจะใช้เวลาประมาณ 30 นาทีค่ะ)

Delivery (กรณีลูกค้าต้องการให้ส่งอาหาร)

  • Can I please have your name, phone number and address please?

          (รบกวนขอชื่อ และเบอร์ติดต่อ และที่อยู่ด้วยค่ะ)

  • Can you please spell that for me?

          (ช่วยสะกดให้หน่อยได้ไหมคะ)

  • Thank you for that. It should take around 50 minutes.

          (ขอบคุณค่ะ น่าจะใช้เวลาประมาณ 50 นาทีค่ะ)

บทสนทนาที่ใช้เป็นประจำในร้านอาหาร

Restaurant phrases (บทพูดต่างๆ ในร้านอาหาร)

  • Hi, would you like to have here or take away?

          (สวัสดีค่ะ จะทานที่นี่ หรือ ซื้อกลับดีคะ)

  • How many people tonight/ today?

          (กี่ท่านคะ)

  • How spicy would you like that? Mild/ Medium/ Hot?

          (ต้องการเผ็ดแค่ไหนดีคะ เผ็ดเบาๆ ปานกลาง หรือเผ็ดมากเลยดี)

  • I am very sorry for your wait, I will check it for you right away.

          ในกรณีที่อาหารมาช้า (ต้องประทานโทษที่ต้องทำให้รอนะคะ เดี๋ยวจะไปเช็คให้เลยค่ะ)

          (อาหารเป็นยังไงบ้างคะ)

  • Sorry, we do not do split billing.

          (ต้องขอโทษด้วยนะคะ ทางร้านเราจะไม่สามารถแยกบิลจ่ายได้นะคะ)

  • Would you like to pay by cash or card?

          (ต้องการจ่ายด้วยเงินสด หรือ บัตรเครดิตดีคะ)

ข้อดีของการทำงาน Part-Time ในร้านอาหารที่ต่างประเทศระหว่างเรียน

  • สร้างรายได้พิเศษให้ตัวเอง
  • เปิดโอกาสเรียนรู้ภาษาอังกฤษเพิ่มเติม ได้ฝึกพูดฝึกใช้ทุกวัน
  • ได้เจอมิตรภาพใหม่ๆ ทั้งคนไทยและต่างชาติ
  • เป็นการฝึกฝนตัวเองให้มีทั้งความอดทน และความขยัน
  • ทำให้เป็นคนตรงต่อเวลา

ประเทศที่สามารถเรียนและทำงาน Part-Time ได้

Australia (ออสเตรเลีย) 

วีซ่านักเรียนออสเตรเลียสามารถทำงานได้สัปดาห์ละ 20 ชั่วโมง หรือ 40 ชั่วโมง ในระยะเวลา 2 สัปดาห์ โดยชั่วโมงการทำงาน ของน้องๆ นั้นจะถูกแบ่งเป็นกะหรือช่วงเวลาแบบไหนขึ้นอยู่กับนายจ้าง น้อง ๆ สามารถเริ่มทำงานได้ตั้งแต่วันเปิดเรียนไปจนถึงวันที่เรียนจบหลักสูตร แต่ทั้งนี้ควรตรวจสอบกับทางเจ้าหน้าที่ให้ดีก่อน เพระาเงื่อนไขวีซ่าแต่ละประเภทอาจมีเงื่อนไขแตกต่างกันออกไป การทำงานที่ออสเตรเลีย จะแบ่งการทำงานออกเป็นกะ กะหนึ่งประมาณ 6-8 ชั่วโมงแล้วแต่สถานที่ทำงาน หากไม่เคยมีประสบการณ์การทำงานบริการมาเลย รายได้เฉลี่ยจะอยู่ที่ 55 ถึง 60 เหรียญ 

New Zealand (นิวซีแลนด์) 

สำหรับผู้เรียนหลักสูตรระยะเวลาไม่เกิน 3 เดือน จะต้องขอและได้เป็น Visitor Visa เท่านั้น ซึ่งระยะเวลาค่อนข้างสั้นจึงไม่อนุญาตให้ทำงานพิเศษใดๆ แต่ถ้าลงเรียนหลักสูตรที่มีระยะเวลามากกว่า 3 เดือนขึ้นไป จะต้องยื่นขอและได้เป็น Student Visa หากต้องการทำงานพิเศษในขณะเรียนอยู่ที่นิวซีแลนด์ด้วย ก็สามารถยื่นวีซ่าแบบ Variation of Conditions แต่จะต้องเป็นนักเรียนที่เรียนแบบ Full Time Course สามารถทำงานพิเศษได้ 20 ชั่วโมงต่อสัปดาห์  อย่างไรก็ตามกฎหมายสำหรับการทำงานวีซ่านักเรียนที่นิวซีแลนด์จะถูกจำกัดชั่วโมงของการทำงาน ดังนั้นควรแบ่งเวลาเรียนและเวลาการทำงานให้สมดุลกันด้วย เพื่อที่จะได้ไม่เสียการเรียนและไม่เสียประวัติในเรื่องวีซ่านะคะ

United States (สหรัฐอเมริกา)  

สามารถทำงาน Part-time ระหว่างที่เรียนได้ แต่มีกฎระเบียบเกี่ยวกับการอนุญาตให้นักศึกษาต่างชาติทำงานที่เข้มงวดมาก ในปีแรกนักศึกษาที่ถือวีซ่า F-1 หรือ M-1 จะได้รับอนุญาตให้ทำงานได้ตามเงื่อนไขที่ถูกกำหนดไว้อย่างเคร่งครัด โดย United States Citizenship and Immigration Service หรือ USCIS นักเรียนที่ลงทะเบียนเรียนในหลักสูตร Diploma หรือ Certificate ในหลักสูตรการฝึกภาษาและหลักสูตรที่ได้รับการรรับรองโดยมหาวิทยาลัยและวิทยาลัยสามารถยื่นสมัครวีซ่านักเรียน F1 ได้ ซึ่งนักเรียนจะต้องเรียนหลักสูตรแบบเต็มเวลาเท่านั้น โดยได้รับอนุญาตให้พักอาศัยอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกาได้ถึง 60 วัน เพื่อเรียนให้จบในหลักสูตรที่ลงทะเบียนเอาไว้ สำหรับการเรียนปีแรก นักเรียนนานาชาติจะไม่ได้รับอนุญาตให้ทำงานนอกวิทยาเขตของสถาบันการเรียน และสามารถทำงานได้สัปดาห์ละ 20 ชั่วโมง และเต็มเวลาในช่วงวันหยุดเรียน ส่วนในปีต่อมาหากต้องการทำงานนอกมหาวิทยาลัย สามารถส่งใบสมัครไปยังหน่วยงาน USCIS ขอใบอนุญาตทำงานพิเศษเพื่อให้สามารถทำงานนอกวิทยาเขตได้ โดยการทำงานนอกสถาบันการเรียนนั้นนักเรียนจะต้องจบหลักสูตรการเรียนแบบเต็มเวลา 1 ปี แล้วเท่านั้น และมีคุณสมบัติตรงตามเงื่อนไขของ Department of Homeland Security โดยนักเรียนสามารถตรวจสอบเงื่อนไขและรายละเอียดการทำงานเพิ่มเติมได้ว่ามีสิทธิ์ในการทำงานในแบบ Optional Practical Training (OPT) หรือ Curricular Practical Training (CPT)

United Kingdom (สหราชอาณาจักร) 

วีซ่าของนักเรียนไทยที่ไปศึกษาต่อในสหราชอาณาจักรส่วนใหญ่จะเป็นวีซ่าประเภท Tier-4 ซึ่งเป็นวีซ่าสำหรับนักศึกษาจากนอกทวีปยุโรป (non-EU) โดยปกติแล้วจะมีการระบุไว้ในวีซ่านักเรียนที่น้อง ๆ ถืออยู่ หรือใน Biometric Residence Permit (BRP) ค่ะ 

  • สำหรับผู้ที่เข้าเรียนต่อระดับปริญญาในสถาบันการศึกษาในสหราชอาณาจักรนั้นสามารถทำงานได้สูงสุด 20 ชั่วโมง/สัปดาห์
  • สำหรับผู้ที่เข้าเรียนหลักสูตรระดับต่ำกว่าปริญญาตรีในสถาบันการศึกษาระดับอุมศึกษาทั่วสหราชอาณาจักรสามารถทำงานได้สูงสุด 10 ชั่วโมง/สัปดาห์
  • สำหรับผู้ทื่ถือวีซ่านักเรียนแบบ Tier 4 (Child) สามารถทำงานได้สูงสุด 10 ชั่วโมง/สัปดาห์

สำหรับงาน Part-time ในต่างประเทศนั้นมีค่อนข้างหลากหลาย เช่น งานบาริสต้าร้านกาแฟ ผู้ช่วยพนักงานร้านเสื้อผ้า และน้องๆ ยังสามารถติดต่อโรงเรียนให้ช่วยดูแลเกี่ยวกับตำแหน่งงานพิเศษได้อีกด้วย เพราะปัจจุบันนี้มีโรงเรียนและสถาบันการเรียนหลายแห่งที่ได้จัดเตรียมตำแหน่งงานพิเศษไว้รองรับนักเรียนที่เข้ามาเรียนไว้อยู่แล้ว ซึ่งประสบการณ์จากการทำงานพิเศษนี้จะช่วยเติมเต็มประสบการณ์ของน้อง ๆ ให้เรซูเม่มีความน่าสนใจยิ่งขึ้น จะเห็นได้ว่าหลายประเทศนั้นอนุญาตให้น้องๆ ทำงาน Part-time ไปด้วยเรียนไปด้วยได้ แต่มีเงื่อนไขตรงที่ต้องขออนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษร และที่สำคัญคือต้องไม่ทำงานหนักเกินไปจนกระทบกับการเรียน ไม่ต้องถึงขั้นแอบทำงานโดยไม่ได้ขออนุญาต หรือทำงานเกินเวลาที่กฎหมายกำหนด เพราะถ้าโดนจับได้โดนส่งกลับประเทศ ก็ไม่คุ้มกันเนอะ ยังไงก็อย่าลืมหน้าที่หลักของตัวเองนะคะ ว่ามาเพื่อเรียน เพื่อนำความรู้กลับไป

สนใจเรียนภาษาอังกฤษในต่างประเทศ

สำหรับน้องๆ ที่ต้องการพัฒนาทักษะทางภาษาโดยการเรียนต่อด้านภาษาในต่างประเทศทั้ง ออสเตรเลีย สหรัฐอเมริกา นิวซีแลนด์ สหราชอาณาจักร แคนาดา และไอร์แลนด์ สามารถค้นหาคอร์สเรียนและโรงเรียนภาษาชั้นนำได้ที่นี่ หรือลงทะเบียนติดต่อกับ SI-English ผู้เชี่ยวชาญด้านการศึกษาต่อต่างประเทศ เพื่อขอรับข้อมูลต่าง ๆ และคำแนะนำเพิ่มเติมฟรี! ได้ตั้งแต่วันนี้ค่ะ

ทำงานร้านอาหารมีหน้าที่อะไรบ้าง

1. ต้อนรับ และอธิบายเมนูอาหารให้กับลูกค้า หรือแนะนำอาหาร และเครื่องดื่มที่ลูกค้าอาจสนใจ 2. จดคำสั่งซื้ออาหารในใบสั่งซื้อ หรือป้อนคำสั่งซื้อลงในคอมพิวเตอร์ เพื่อส่งให้กับเจ้าหน้าที่ภายในห้องครัว 3. ตรวจสอบว่าลูกค้าได้รับรายการที่สั่งครบถ้วน 4. ดูแลลูกค้า และดำเนินการแก้ไขเมื่อเกิดปัญหา

พนักงานร้านอาหาร คืออาชีพอะไร

คือพนักงานประจำสเตชั่นปรุงอาหารต่างๆ เช่น ครัวทอด ครัวย่าง ครัวผัด ครัวเย็น และจัดเตรียมวัตถุดิบอาหารที่ต้องใช้ มีบทบาทต่อการทำเมนูอาหารให้เป็นไปตามสูตรมาตรฐาน และหากจัดการได้ดีก็จะช่วยลด waste ของอาหารได้

จะทําอะไรกิน ภาษาอังกฤษ

What are you cooking?

รับเมนูไหนดีคะ ภาษาอังกฤษ

What would you like to order? - รับอะไรดีคะ/ครับ? การชำระเงิน Cash only - รับเฉพาะเงินสดค่ะ/ครับ Please pay at the cashier - ชำระเงินที่แคชเชียร์นะคะ/ครับ

กระทู้ที่เกี่ยวข้อง

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก