การเลือกอาชีพของ นักศึกษา ระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

10 Pages Posted: 13 Sep 2018

Date Written: January 1, 2018

Abstract

Thai Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการตัดสินใจเข้ารับราชการของนิสิตชัน้ ปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน 2) เพื่อเปรียบเทียบการตัดสินใจเข้ารับราชการของนิสิตชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขนจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบุคลิกภาพ ระบบค่าตอบแทน ภาพลักษณ์ของระบบราชการ กระบวนการสรรหาบุคลากร และการมีจิตสาธารณะกับการตัดสินใจเข้ารับราชการของนิสิตชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขน กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ นิสิตชัน้ ปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตบางเขน จานวน 378 คน การรวบรวมข้อมูลใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสาเร็จรูปทางสถิติสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และสัมประสิทธิส์ หสัมพันธ์แบบเพียร์สัน โดยกำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยพบว่า การตัดสินใจเข้ารับราชการของนิสิตชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตบางเขนอยู่ในระดับปานกลางการพิสูจน์สมมติฐานพบว่า นิสิตที่มีภูมิลาเนา และรายได้ของครอบครัวแตกต่างกัน มีการตัดสินใจเข้าทางานในระบบราชการแตกต่างกัน นอกจากนั้นยังพบว่า ระบบค่าตอบแทน ภาพลักษณ์ของระบบราชการ และกระบวนการสรรหามีความสัมพันธ์กับการตัดสินใจเข้าทำงานในระบบราชการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

English Abstract: The objectives of the research were 1) to study the decision making to work in the civil service career of senior students Kasetsart University (Bangkhen) 2) to compare the decision making to work classified by personal factors and 3) to study the relationship between personality, compensation system, image of bureaucracy, recruitment process, and public mind with the decision making to work. The sample consisted of 378 persons selected from senior students Kasetsart University (Bangkhen). Questionnaires were used to collect data and analyzed by statistical software. Statistical tools used for data analysis were percentage, mean, standard deviation, t-test, One Way ANOVA and Pearson Product Moment Correlation Coefficient, at the.05 level of significance. The results of the research found that the decision making to work in the civil service career of senior students Kasetsart University (Bangkhen) were at moderate level. The hypothesis testing revealed that sample with difference of place of birth and family income had difference of decision making to work in the civil service career. Moreover compensation system, image of bureaucracy and recruitment process had relationship with the decision making to work in the civil service career at the.05 level of significance.

Keywords: Work in the Civil Service Career, Senior Students, Kasetsart University, Bangkhen Campus

Suggested Citation: Suggested Citation

Amornwongpaiboon, Chanadda and Arsuwattanakul, Chiocharn, การตัดสินใจเข้ารับราชการของนิสิตชั้นปีที่ 4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์วิทยาเขตบางเขน (The Decision Making to Work in the Civil Service Career of Senior Students, Kasetsart University, Bangkhen Campus) (January 1, 2018). Journal of Interdisciplinary Research: Graduate Studies, Vol. 7, No. 1, Available at SSRN: //ssrn.com/abstract=3245057 or //dx.doi.org/10.2139/ssrn.3245057

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก