การหมุนเวียนอากาศระหว่างละติจูด 30 - 60 องศาเหนือและใต้

บทความนี้ยังต้องการเพิ่มแหล่งอ้างอิงเพื่อพิสูจน์ความถูกต้อง คุณสามารถพัฒนาบทความนี้ได้โดยเพิ่มแหล่งอ้างอิงตามสมควร เนื้อหาที่ขาดแหล่งอ้างอิงอาจถูกลบออก

แผนภาพแสดงตำแหน่งสัมพัทธ์ของละติจูดม้า

ละติจูดม้า (อังกฤษ : Horse Latitudes) เป็นบริเวณที่ตั้งอยู่ที่ประมาณ 30 องศาเหนือและ 30 องศาใต้ของเส้นศูนย์สูตร ละติจูดเหล่านี้มีลักษณะลมที่สงบเป็นอย่างมากและมีฝนตกเล็กน้อย

ละติจูดม้าตั้งอยู่ที่ประมาณ 30 องศาเหนือและใต้ของเส้นศูนย์สูตร มันเป็นเรื่องปกติสำหรับภูมิภาคกึ่งเขตร้อนนี้ที่ลมที่จะเคลื่อนที่ไปทางขั้วโลก หรือทางเส้นศูนย์สูตร (ที่รู้จักกันในชื่อลมการค้า) ลมที่พัดผ่านเหล่านี้เป็นผลมาจาก พื้นที่ที่มีแรงกดอากาศสูงซึ่งมีลักษณะเป็นลมสงบบนท้องฟ้าที่มีแดดและฝนน้อย หรือไม่มีเลย

ตามตำนานที่มาของชื่อ "ละติจูดม้า" กล่าวว่า เมื่อเรือขนส่งเข้าสู่ละติจูดม้าแล้ว จะไม่สามารถไปต่อได้เนื่องจากขาดลม ทำให้คนเรือมักขาดน้ำอยู่เสมอ เพื่อให้อยู่รอดจนถึงจุดหมายจึงต้องทิ้งม้าบางส่วนลงทะเล จึงทำให้บริเวณนี้ถูกเรียกว่า ละติจูดม้า[1]

ละติจูดม้านั้นสัมพันธ์กับแอนติไซโคลนกึ่งเขตร้อน แถบในซีกโลกเหนือบางครั้งเรียกว่า "คาล์มออฟแคนเซอร์" และในซีกโลกใต้ "คาล์มออฟแคปริคอร์น"[2]

สภาพอากาศที่แห้งและมีแดดจัดของละติจูดม้าเป็นสาเหตุหลักของการมีอยู่ของทะเลทรายที่สำคัญของโลกเช่น ทะเลทรายซาฮาราในแอฟริกา ทะเลทรายอาหรับและซีเรียในตะวันออกกลาง ทะเลทรายโมฮาวีและ ทะเลทรายโซนอรันทางตะวันตกเฉียงใต้ของสหรัฐอเมริกา และเม็กซิโกตอนเหนือทั้งหมดในซีกโลกเหนือ และทะเลทรายอาตากามา, ทะเลทรายคาลาฮารีและทะเลทรายออสเตรเลียในซีกโลกใต้[3]

อ้างอิง[แก้]

  1. //oceanservice.noaa.gov/facts/horse-latitudes.html
  2. //www.britannica.com/science/horse-latitude
  3. //osf.io/r8gxz/download/?format=pdf

โครงการหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 186 การถ่ายโอนพลังงานและการหมุนเวียนของอากาศ (3) แถบความดันอากาศต ่าใกล้ขั้วโลก (Polar low pressure or Polar front) เนื่องจากอากาศใกล้ผิวพื้นจากเส้นรุ้งม้า บางส่วนจะไหลไปยังขั้วโลก และถูกท าให้เบนไปทางทิศ ตะวันออก (ด้วยแรงโคริออลิส) ท าให้เกิดลมแน่ทิศ (Prevailling westeries wind) มาจากทิศ ตะวันตก ในทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจาก 30 องศาเหนือถึง 60 องศาเหนือ (ประมาณจากจีนไป ไซบีเรีย) และลมแน่ทิศมาจากทิศตะวันตกไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ จากละติจูด 30 องศาใต้ถึง ละติจูด 60 องศาใต้ เป็นลมตะวันตกและเป็นลมที่มีก าลังแรงไม่แน่นอน ขึ้นไปปะทะกับอากาศที่ เคลื่อนลงมาจากขั้วโลก การปะทะกันของสองมวลอากาศที่มีอุณหภูมิแตกต่างกันจะไม่เกิดการ ผสมกันในทันที แต่จะแบ่งแยกกันด้วยแนวเขตปะทะที่เรียกว่า แนวปะทะขั้วโลก (Polar front) บริเวณที่อากาศรวมตัวกัน และยกตัวสูงขึ้นจะเกิดพายุในเขตอบอุ่น อากาศบางส่วนที่ลอยขึ้นไปจะ ไหลกลับไปยังเส้นรุ้งม้า เส้นละติจูดที่ 30 องศาเหนือและ 30 องศาใต้ เซลล์ (cell) ในละติจูดกลางนี้ เรียกว่า เฟอร์เรลเซลล์ (Ferrel Cell) ดังภาพที่ (7.18) ตามชื่อนักอุตุนิยมวิทยาชาวอเมริกันผู้เสนอ แนวคิดนี้ 60 N Ferrel cell 0 0 30 N 0 0 N ภาพที่ 7.18 การหมุนเวียนของอากาศในวงจรเฟอร์เรล (Ferrel Cell) (4) แถบลมตะวันออกจากขั้วโลก (Polar easteries) เมื่อพิจารณาจาก แนวปะทะอากาศขั้วโลกไปทางขั้วโลก อากาศเย็นจากขั้วโลกที่ไหลมาจากบริเวณความดันอากาศสูง ที่ขั้วโลก (polar high) จะถูกเบนทิศทางโดยแรงโคลริออลิสให้ไปในทิศตะวันออกเฉียงเหนือ (ซีก โลกเหนือ) และตะวันออกเฉียงใต้ในซีกโลกใต้จึงเกิดแถบลมที่พัดมาจากทิศตะวันออกไปทางทิศ ตะวันตก เรียกว่า แถบลมตะวันออกจากขั้วโลก (Polar easteries) ในฤดูหนาว อากาศเย็นจากขั้วโลก เคลื่อนที่มาถึงเขตละติจูดกลางและเขตกึ่งเขตร้อน อากาศทั้งสองบริเวณจะปะทะกัน จึงท าให้ อากาศบางส่วนลอยสูงขึ้นและไหลกลับไปยังขั้วโลกตามแนวทิศของลมตะวันตกไปตะวันออก (westerly) ซึ่งเกิดตอนบนของชั้นบรรยากาศ (ตอนล่างเป็น easteries) จนถึงขั้วโลกจะค่อยๆ จมลง อย่างช้าๆ และวนกลับไปที่แนวปะทะอากาศขั้วโลก (Polar Front) ซึ่งครบวงจรโพลาร์เซลล์ (Polar Cell) ก าลังไม่แรง (ภาพที่ 7.19)

การหมุนเวียนอากาศระหว่างละติจูด 30 ถึง 60 องศาเหนือและใต้มีชื่อเรียกว่าอะไร

ลมค้า (อังกฤษ: trade wind หรือ อังกฤษ: easterlies) เป็นลมประจำปีที่พัดจากทิศตะวันออกไปทางทิศตะวันตก เป็นลมที่พัดอยู่ทั่วไปในบริเวณศูนย์สูตรของโลก (ระหว่างละติจูด 30° เหนือ ถึง 30° ใต้) ลมค้าจะพัดจากทิศตะวันออกเฉียงเหนือในซีกโลกเหนือ และพัดจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ในซีกโลกใต้ พัดแรงขึ้นในระหว่างฤดูหนาวและเมื่อความผันแปรของ ...

การหมุนเวียนบริเวณละติจูดที่ 60 องศา มีภูมิอากาศแบบใด

แถบความกดอากาศต่ำกึ่งขั้วโลก (Subpolar low) ที่บริเวณละติจูดที่ 60° เป็นเขตอากาศยกตัว เนื่องจากอากาศแถบความกดอากาศสูงกึ่งศูนย์สูตร (H) เคลื่อนตัวไปทางขั้วโลก ถูกแรงโคริออริสเบี่ยงเบนให้เกิดลมพัดมาจากทิศตะวันตก เรียกว่า “ลมเวสเทอลีส์” (Westerlies) ปะทะกับ “ลมโพลาร์อีสเทอลีส์” (Polar easteries) ซึ่งพัดมาจากทิศตะวันออก ...

อากาศบริเวณละติจูดที่ 30

ความแตกต่างของอุณหภูมิบริเวณขั้วโลกกับเส้นศูนย์สูตรและอิทธิพลจากจากหมุนรอบตัวเองของโลก ทำให้เกิดลมในแต่ละละติจูด เช่น ประเทศเกาหลีอยู่ระหว่างละติจูดที่ 30-60 องศา จะมีลมตะวันตกพัดเข้ามาประจำ ตอนที่เครื่องบินบินไปทางตะวันออก จะมีลมตะวันตกพัดดันจากข้างหลังทำให้บินเร็วขึ้น แต่ในทางกลับกัน ถ้าบินสวนทางกันก็จะทำให้บินช้าลง ...

การหมุนเวียนอากาศตั้งแต่เส้นละติจูด 60 องศาเหนือถึงขั้วโลกเหนือ เรียกว่าอะไร

2. ลมกรดบริเวณขั้วโลก (Polar Jet) เกิดขึ้นในละติจูดประมาณ 60 องศาเหนือและใต้ ใกล้กับแนวปะทะอากาศขั้วโลก ซึ่งเกิดจากอากาศหนาวจากขั้วโลกเคลื่อนที่มาพบกับอากาศอุ่นจากเขตร้อน และอยู่เหนือแนวปะทะอากาศขั้วโลกประมาณ 10 กิโลเมตร

Toplist

โพสต์ล่าสุด

แท็ก